กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน ประจำปี 2561
รหัสโครงการ 61-L5307-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
วันที่อนุมัติ 13 กันยายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2561
งบประมาณ 101,285.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวอนัญญาแสะหลี
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.691,100.049place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2560 25 ก.ค. 2561 1 ต.ค. 2560 25 ก.ค. 2561 50,000.00
รวมงบประมาณ 50,000.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (50,000.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (101,285.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 33 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพ และประสานหน่วยงานองค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ ที่เกี่ยวกับการสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาและการฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยได้มีการนำแผนสุขภาพชุมชนมาเป็นเครื่องมือบริหารการเปลี่ยนแปลง การบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่แบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการสร้างสุขภาพป้องกันโรคและการติดตามผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพฯ ดังนั้น เพื่อให้งานกองทุนฯมีการขับเคลื่อนตามกระบวนการ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อขับเคลื่อนระบบงานกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านควน
  • มีการประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ อย่างน้อย ปีละ 4 ครั้ง
  • มีการใช้จ่ายงบประมาณในการสนับสนุนเพื่อดำเนินโครงการ อย่างน้อยร้อยละ 80
0.00
2 2.เพื่อให้พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่และผู้เกี่ยวข้องได้เข้าใจการบริหารกองทุนไปในทิศทางเดียวกัน

ตัวแทนกรรมการหรือ คณะทำงานได้เข้าร่วมการประชุม สัมมนาหรือพัฒนาศักยภาพ อย่างน้อย1 ครั้ง/ปี

3 3.เพื่อให้เกิดการติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนฯ
  • กองทุนฯ มีคะแนนการประเมินผลตนเองไม่น้อยกว่า 70 คะแนน
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 73,685.00 8 32,800.00
ประชุมคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 1 0 3,000.00 -
จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 1 0 8,500.00 -
จัดประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 2 0 8,500.00 -
ประชุมคณะอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 2 0 3,000.00 -
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 3 0 8,500.00 7,700.00
ประชุมอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 3 0 3,000.00 2,350.00
ประชุมคณะอนุกรรมการด้านการเงิน จำนวน 1 ครั้ง 0 1,980.00 0.00
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 4 0 8,500.00 8,075.00
ประชุมอนุกรรมการ กลั่นกรองโครงการ ครั้งที่ 4 0 3,000.00 2,275.00
ประชุมคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ ครั้งที่ 5 0 900.00 0.00
3 ม.ค. 61 - 28 ก.ย. 61 ค่าลงทะเบียนหรือเดินทางไปราชการ 0 14,805.00 520.00
23 ก.ค. 61 พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการ/คณะทำงาน 0 10,000.00 11,880.00

1.จัดประชุมอบรมพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนฯ 2.จัดประชุมคณะกรรมการแต่ละชุด เพื่อพิจารณาโครงการที่ขอรับการสนับสนุน 3.ติดตามประเมินผลการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 4.ติดตามรายงานผลการดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพผ่านโปรแกรมรายงานผลการดำเนินงานในระบบออนไลน์ เช่น การส่งเงินสมทบ การดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการ 5.จัดทำสื่อเอกสารเผยแพร่งานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 6.จัดซื้ออุปกรณ์ ครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินงานกองทุนฯ 7.สำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ 8.งานอื่นๆ ที่สนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันดรค รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพในพื้นที่

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่เข้าถึงงบประมาณกองทุนฯ 2.ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชน 3.คณะกรรมการฯ สามารถเข้าใจในแนวทางบริหารกองทุนฯอย่างมีประสิทธิภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ต.ค. 2560 15:00 น.