กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการคุ้มครองผู้บริโภคตำบลเมืองเก่า
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ตำบลเมืองเก่า อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
วันที่อนุมัติ 11 มกราคม 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 7 มิถุนายน 2561 - 8 มิถุนายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน 28 กันยายน 2561
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอารี คะสุระ นางวงเดือน นีวงษ์ นางเสมอ นีวงษ์ นางวันเพ็ญ นพเทา นางปราณี จิตรประเสริฐ
พี่เลี้ยงโครงการ นายอมรมิตร เขียวขำ
พื้นที่ดำเนินการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลเมืองเก่า อำเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา
ละติจูด-ลองจิจูด 13.728,101.319place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 7 มิ.ย. 2561 8 มิ.ย. 2561 40,000.00
รวมงบประมาณ 40,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6 ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร
70.00
2 ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
50.00
3 ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์
50.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ผลการสุ่มตรวจอาหารที่วางจำหน่ายในท้องตลาด พบว่าอาหารปลอดภัยจากสารบอแรกซ์ ร้อยละ ๑๐๐ สารฟอกขาว ร้อยละ ๑๐๐ สารกันเชื้อรา ร้อยละ ๙๙.๖๒ สารฟอร์มาลีน ร้อยละ ๙๖.๑๑ ยาฆ่าแมลง ร้อยละ ๙๗.๖๘ และน้ำมันทอดซ้ำ ร้อยละ ๘๙.๒๙ เมื่อเทียบผลงานกับระดับเขตตรวจราชการที่๖ อาหารปลอดภัยจากสารเคมีร้อยละ ๙๖ ชมรม อสม. ร่วมกับ รพ.สต.จึงได้ทำโครงการเพื่อการเตรียมพร้อมทั้งด้านวิชาการ แนวทางปฏิบัติการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านค้ามีความรู้และสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์มาจำหน่ายในพื้นที่อย่างมีคุณภาพ

ร้อยละ 80 จำหน่ายอาหารที่มีคุณภาพ

100.00
2 ลดการปนเปื้อนสารเคมีในอาหาร

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน 6  ชนิด มีสารเคมีตกค้างในอาหาร ลดลงเหลือ

70.00 100.00
3 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ

ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

50.00 85.00
4 เพิ่มครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

ร้อยละของครัวเรือนที่มีการรับประทานอาหารร่วมกันอย่างน้อย 5 ครั้งต่อสัปดาห์

50.00 70.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 40,000.00 2 40,000.00
7 มิ.ย. 61 พัฒนาสถานประอบการผลิต ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 0 0.00 0.00
26 มิ.ย. 61 - 27 ก.ย. 61 ให้ความรู้สมาชิกกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภค/อย.น้อยในโรงเรียนเกี่ยวกับการตรวจฉลากอาหาร ภาชนะบรรจุ 0 40,000.00 40,000.00

เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่วางจำหน่ายในพื้นที่ ติดตามและสนับสนุนการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนและสนับสนุนให้ภาคีเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคมีการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่วางจำหน่ายภายในตำบลได้มาตรฐานและปลอดภัย 2.สถานประกอบการผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชนฯพัฒนาสถานที่ผลิตได้มาตรฐาน 3.มีภาคีเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคในตำบลเมืองเก่า 4.สถานศึกษามีการดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียน 5.มีการเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพที่วางจำหน่ายในพื้นที่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.ย. 2561 15:19 น.