กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านหุบเฉลา ประจำปี ๒๕๖๑
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ
วันที่อนุมัติ 27 กันยายน 2561
ระยะเวลาดำเนินโครงการ -
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 7,920.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี
ละติจูด-ลองจิจูด 12.954,99.904place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอาหารและโภชนาการ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 27 ก.ย. 2561 5,420.00
รวมงบประมาณ 5,420.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (5,420.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (7,920.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 7,920.00 1 5,420.00
27 ก.ย. 61 ๑.๑ จัดอบรม ครูพี่เลี้ยง แม่บ้าน ตัวแทนผู้ปกครอง ในประเด็นดังนี้ ๑) สถานการณ์โรคติดต่อในเด็กปฐมวัยในพื้นที่ ๒) ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก การเฝ้าระวังโรค การป้องกันการควบคุมโรค ๓) สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต 0 7,920.00 5,420.00

จัดอบรม ครูพี่เลี้ยง แม่บ้าน ตัวแทนผู้ปกครอง ในประเด็นดังนี้ - สถานการณ์โรคติดต่อในเด็กปฐมวัยในพื้นที่ - ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น อุจจาระร่วง ไข้หวัดใหญ่ โรคมือ เท้า ปาก การเฝ้าระวังโรค การป้องกันการควบคุมโรค - สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดโรค ทักษะในการจัดการสิ่งแวดล้อม การล้างทำความสะอาดของเล่น อุปกรณ์ที่เด็กใช้ร่วมกัน - การคัดกรองอาการป่วยโรคติดต่อชนิดต่างๆ
- ทักษะในการดูแลเด็กเบื้องต้น การเช็ดตัวลดไข้ การวัดไข้เด็ก - จัดทำทะเบียนเครือข่ายในการเฝ้าระวังโรคติดต่อ ในโรงเรียนอนุบาล โดยครูพี่เลี้ยงนักเรียน แกนนำผู้ปกครองนักเรียน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เด็กปฐมวัยโรงเรียนอนุบาลป่วยด้วยโรคมือ เท้า ปาก ลดลงจากปีที่ผ่านมา (ปี ๒๕๖๐) ร้อยละ ๑๐๐
  2. โรงเรียนอนุบาลจัดกิจกรรมเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออย่างต่อเนื่อง
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ต.ค. 2561 19:45 น.