โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน (0-72 เดือน)
ชื่อโครงการ | โครงการเสริมสร้างความรู้ด้านโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน (0-72 เดือน) |
รหัสโครงการ | 64-L5202-(1)-2 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ |
วันที่อนุมัติ | 18 มีนาคม 2564 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 24 มีนาคม 2564 - 30 กันยายน 2564 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2564 |
งบประมาณ | 30,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวนูรีดา แส้เด็น |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายสุธน โสระเนตร์ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลประกอบ อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.483,100.643place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 643 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 190 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ้บป่วย ซึ่งการกินอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้โภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไปก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน "โภชนาการ" จึงเป็นเรื่องของการกิน "อาหาร" ที่ร่างกายเรานำ "สารอาหาร" จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุขอาหารและโภชนาการเป็นพื้นบานที่สำคัญอย่างยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศ ทุกวัยทั้งเด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็ก 0-72 เดือน เป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัยของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจิญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัย 0-72 เดือนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภสวะการเจริญเติบดตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน จะพบว่าพื้นที่เขตรับผิดชอบในช่วงไตรมาสที่ผ่านามีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 69 คน จากเด็กทั้งหมด 643 คน คิดเป็นร้อยละ 10.73 น้ำหนักค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ 86 คน คิดเป็นร้อยละ 13.37 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข กำหนดเด็ก 0-72 เดือน มีภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 และในอนาคต มีแนวโน้มจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ตำบลประกอบ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังทางโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน เพื่อให้เด้กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่าและเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-72 เดือน ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด้กให้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-72 เดือน ร้อยละผู้ปกครองหรือผู้ดุแลเด็กสามารถเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กขั้นพื้นฐานได้ |
80.00 | |
2 | 2. เด้กอายุ 0-72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และน้ำหนักเกินเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขปัยหาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง ร้อยละของเด็กอายุ 0-72 เดือน ที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์และน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีจำนวนลดลง |
80.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 | |
24 มี.ค. 64 | อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการเด็กแก่ผู้ปกครองเด็ก 0-7 เดือน จำนวน คน | 0 | 0.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
ขั้นเตรียมการ 1. รวบรวมข้อมูลเด็กอายุ 0-72 เดือน ในตำบลประกอบที่มีภาวะทุพโภชนาการจากโปรแกรม JHCIS 2. ร่างโครงการและแผนปฏิบัติการ 3. ติดต่อประสานงานกับแกนนำ อสม. และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อทำการประชาสัมพันธ์โครงการ 4. แจ้งกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ 5. กำหนดวันดำเนินโครงการ ขั้นดำเนินการ 1. จัดหิจกรรมอบรมให้ความรูเชิงวิืชาการการตรวจภาวะโภชนาการแก่ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ 2. รณรงคืประชาสัมพันธ์ อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่คัดกรองภาวะโภชนาการ เพื่อค้นหาเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ พร้อมอธิบายให้ผู้ปกครองเข้าใจและส่งเสริมเด็กอย่างต่อเนื่องที่บ้าน 3. ให้ผู้เข้าร่วมโครงการสาธิตวิธีการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง การแปรผล 3 นาที 4. ติดตามภาวะโภชนาการ โดย อสม. ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารรสุขทุกสัปดาห์ ขั้นประเมินผล 1. ผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็กสามารถเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด้กขั้นพื้นฐานได้ 2. เด็กที่มีปัญหา มีภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
- ผู้ปกครองเด็กขาดสารอาหารมีพฤติกรรมในการส่งเสริมให้เด็กขาดสารอาหาร บริโภคอาหารที่มีประโยชน์
- เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 มี.ค. 2564 11:47 น.