กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565 ”

ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำขาว อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการแพทย์และสาธารณสุข ทำให้เกิดการเปลี่ยนผ่านทางประชากรอัตราการเกิดและอัตราการตายลดลงพร้อมกับอายุคาดเฉลี่ยที่ยืนยาวขึ้นของคนไทย ทำให้ก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยในระยะเวลาอันสั้นซึ่งการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุนี้นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของประชากรภาวะพึ่งพิง ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสุขภาพ การรับมือกับสถานการณ์ดังกล่าวจำเป็นต้องร่วมมือกันทุกฝ่ายในสังคมต้องมีการพัฒนาและจัดการองค์ความรู้อย่างบูรณาการลงไปสู่การดูแลผู้สูงอายุที่เสี่ยง กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดแผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2559 – 2579) โดยมีเป้าหมายในการดูแลผู้สูงอายุ (active and health ageing) คือ ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง ดำรงชีวิตประจำวันได้และมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยหนึ่งในแผนยุทธศาสตร์ คือ การส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในสังคม โดยมีมาตรการพัฒนาบริการสุขภาพและสังคม เน้นให้มีชมรมผู้สูงอายุทุกตำบลในรูปแบบต่าง ๆ มีศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุและโรงเรียนผู้สูงอายุและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพและสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ จากมาตรการและแนวคิดการใช้ศักยภาพของผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ จึงเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่กระทรวงสาธารณสุขคาดหวังในการแก้ไขปัญหาผู้สูงอายุ
จากการคัดกรองประเมินสุขภาพผู้สูงอายุ ด้วย ADL จำนวน 370 คน คิดเป็นร้อยละ 96.10 ของประชากรผู้สูงอายุทั้งหมด พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคม 353 คน ร้อยละ 95.41 กลุ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง 17 คน ร้อยละ 4.59 (กลุ่มติดบ้าน 9 คน ร้อยละ 2.43 และกลุ่มติดเตียง 8 คน ร้อยละ 2.16) ผลจากการคัดกรองสุขภาพของผู้สูงอายุผู้พบว่ามีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดมากที่สุด ร้อยละ 57.97 และยังพบความเสี่ยงเรื่อง โรคอ้วน(BMIเกิน) ร้อยละ 36.11เสี่ยงต่อเบาหวาน ร้อยละ 11.26 เหล่านี้ส่วนใหญ่ล้วนเป็นความเสี่ยงที่เกิดจากพฤติกรรม ถือเป็นประเด็นปัญหาที่ต้องได้รับการส่งเสริมสุขภาพเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในผู้สูงอายุ
จากสถานการณ์ดังกล่าว ชมรมผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาวจึงให้ความสำคัญในการร่วมเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ให้สามารถ ดูแลตนเองได้ สามารถประเมินสุขภาวะตนเองได้เบื้องต้น และจัดการชีวิตประจำวันของตนได้อย่างเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
  2. เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  3. เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม
  2. กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  3. กิจกรรมธรรมะบำบัด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 385
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี สามารถดำรงชีวิตด้วยความสุขตามอัตภาพ
  2. ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแล และได้รับการช่วยเหลือตามสภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรมประจำเดือนชมรมผู้อายุ ทุกวันที่ 20 ของทุกเดือน
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสมาชิกที่ร่วมกิจกรรม 40 คน x 25 บาท x 6 เดือนเป็นเงิน 6,000 บาท
    • ค่าวัสดุในการดำเนินงาน 1,000 บาท
  2. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรม จำนวน 1 ครั้ง
    • ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ , อาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คน x 100 บาท x 1 ครั้งเป็นเงิน 5,000 บาท
  3. กิจกรรมประชุมใหญ่สมาชิกประจำปี
    • ค่าอาหารกลางวันสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม 100 คน x 50 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 คน x 25 บาท x 2มื้อ เป็นเงิน 5,000 บาท (ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยกนได้)
  4. ฟื้นฟูความรู้การออกกำลังกายโดยวิธีเต้าบาสโลบ
    • ค่าวิทยากร 600 บาท x 3 ช.ม. เป็นเงิน 1800 บาท
    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 คน x 25 บาท x 2 มื้อ เป็นเงิน 1250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้รับความรู้และปฏิบัติกิจกรรมตามเป้าหมาย

 

0 0

2. กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ร่วมเยี่ยมและให้กำลังใจผู้สูงอายุที่ป่วย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สมาชิกชมรมผู้สุงอายุได้ร่วมกับภาคีเครือข่ายเยี่ยมผู้สุงอายุติดบ้าน

 

0 0

3. กิจกรรมธรรมะบำบัด

วันที่ 1 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.การฝึกสวดมนต์ และนั่งสมาธิ - ค่าวิทยากรจำนวน 9 ชม.x 600 บาทเป็นเงิน 5,400 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน30 คน x 25 บาท x 3 มื้อเป็นเงิน 2,250 บาท - ค่าอาหารเช้าและกลางวันจำนวน 30 คน x 50 บาท x 3 มื้อเป็นเงิน 4,500 บาท - ค่าวัสดุในการอบรม3000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีสมาชิกสนใจเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 40 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
69.35 75.00 75.00

 

2 เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุ ได้รับเยี่ยม และคำแนะนำในการดูแลสุขภาพ
385.00 308.00 308.00

 

3 เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแล
17.00 17.00 17.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 385 385
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 385
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ (2) เพื่อส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (3) เพื่อดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม (2) กิจกรรมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (3) กิจกรรมธรรมะบำบัด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.น้ำขาว ปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด