กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี ”




หัวหน้าโครงการ
นางอุดมศรี ซ้ายหุย




ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-02-001 เลขที่ข้อตกลง 1/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 2568-L7572-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤศจิกายน 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การสร้างสุขภาพ ถือเป็นกลยุทธ์ทางสุขภาพที่กำลังได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ว่าจะช่วยกระตุ้นและส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของบุคคล ช่วยลดอัตราป่วยด้วยโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคอันเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ที่เปลี่ยนไป เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคเครียดและโรคมะเร็ง สาเหตุที่พบอุบัติการณ์ของโรคเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจาก กระบวนสร้างสุขภาพไม่เพียงแต่จะเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการให้การศึกษาด้านสุขภาพเท่านั้น แต่ยังเกี่ยวข้องกับการสนับสนุนด้านสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดผลในการปฏิบัติและสภาพการณ์ของการดำรงชีวิตที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมทางวัฒนธรรม บรรทัดฐานทางสังคม สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจซึ่งก็คือวิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งจะก่อให้เกิดภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ของบุคคลและชุมชนนั่นเอง แม้ที่ผ่านมาระบบสุขภาพของคนไทยจะได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนส่งผลให้สุขภาพของประชาชนในภาพรวมดีขึ้น และระบบบริการสุขภาพจะมีความก้าวหน้ามากขึ้น แต่ยังมุ่งที่การจัดบริการเพื่อการรักษาพยาบาลเป็นหลัก คำว่าสุขภาพในความหมายของคนทั่วไป จึงกลายเป็นเรื่องของการรอให้เจ็บป่วยก่อนแล้วค่อยรักษา ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายมาก แต่ให้ผลตอบแทนด้านสุขภาพต่ำกว่าที่ควรจะเป็น นอกจากนี้แนวโน้มการเจ็บป่วยและปัญหาสุขภาพของประชาชนก็มีความซับซ้อนมากยิ่งขึ้น ดังนั้น การแก้ไขด้วยวิธีคิด วิธีการและองค์ความรู้เดิมจึงไม่เพียงพอ ถึงเวลาที่ทุกภาคส่วนของสังคมต้องมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้วยการสร้างสุขภาพและด้วยภูมิปัญญาของชุมชนทั้งสังคม โดยการเน้นให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง มีโภชนาการที่ดี เป็นการลดปัจจัยเสี่ยงง่าย ๆ ด้วยต้นทุนต่ำ ป้องกันโรค อาทิเช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือด โรคความดันโลหิตสูง ฯลฯไม่ให้เกิดขึ้นก่อนวัยอันควร ทำให้ประชาชนมีสมรรถภาพดี สามารถทำงานได้เต็มตามศักยภาพ ขณะเดียวกันก็เป็นการลดค่าใช้จ่ายเพื่อสุขภาพลงไปในตัวด้วย นอกจากนี้ การออกกำลังกายยังลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอื่น ๆ เช่น มะเร็งลำไส้ใหญ่ โรคของกล้ามเนื้อกระดูกและข้อต่อต่าง ๆ ป้องกันโรคกระดูกพรุนในวัยกลางคน และโรคกระดูกตะโพกหักในวัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ดังนั้น หากจะพิจารณาให้ลึกซึ้งจะเห็นว่า การออกกำลังกายและมีโภชนาการที่ดี จึงเป็นมาตรการทางอ้อมที่ใช้ในการสร้างสุขภาพให้ห่างไกลจากโรคไม่ติดต่อและโรคติดต่อได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้ในแต่ละบู๊ทนิทรรศการ1.บู๊ท อสม.นักวิทย์ 2.บู๊ทควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3.บู๊ทผู้สูงอายุ 4.บู๊ทแพทย์แผนไทย 5.บู๊ทป้องกันอัมพฤตอัมพาตโรงพยาบาลพัทลุง
  2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน
  3. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน
  4. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250
กลุ่มวัยทำงาน 350
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ การจัดการความเครียด อาหาร และการป้องกันโรคต่าง ๆ 2.ประชาชนมีความตระหนักในความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพในการป้องกันโรคมากขึ้น
3.ประชาชนสามารถถ่ายทอดความรู้สู่บุคคลอื่นในครอบครัวได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้ในแต่ละบู๊ทนิทรรศการ1.บู๊ท อสม.นักวิทย์ 2.บู๊ทควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3.บู๊ทผู้สูงอายุ 4.บู๊ทแพทย์แผนไทย 5.บู๊ทป้องกันอัมพฤตอัมพาตโรงพยาบาลพัทลุง

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 เวลา 07:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมแจงงานแบ่งหน้าที่รับผิดชอบแต่ละฝ่าย ประสานผู้เกี่ยวข้องแต่ละฝ่าย ทำงานหน้าที่ของตน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้มาร่วมกิจกรรมได้รับความรู้และร่วมกิจกรรมต่างๆภายในงาน

 

500 0

2. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

วันที่ 2 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน อสม เรื่องการจัดกิจกรรม
ตัวแทน อสม จัดหากลุ่มเป้าหมายในการทำกิจกรรม นัดทำกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

3. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

วันที่ 2 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน อสม เรื่องการจัดกิจกรรม
ตัวแทน อสม จัดหากลุ่มเป้าหมายในการทำกิจกรรม นัดทำกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

4. กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน

วันที่ 2 ธันวาคม 2567 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสาน อสม เรื่องการจัดกิจกรรม
ตัวแทน อสม จัดหากลุ่มเป้าหมายในการทำกิจกรรม นัดทำกิจกรรมออกกำลังกายในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในชุมชนมีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง

 

50 0

5. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานครูอนามัยโรงเรียนเรื่องการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

6. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานครูอนามัยโรงเรียนเรื่องการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

7. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานครูอนามัยโรงเรียนเรื่องการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

8. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานครูอนามัยโรงเรียนเรื่องการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

9. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

วันที่ 1 มกราคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานครูอนามัยโรงเรียนเรื่องการทำกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กมีการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

10. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่ออธิบายกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆมีการเพิ่มกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

11. รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประสานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเพื่ออธิบายกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆมีการเพิ่มกิจกรรมทางกายเพิ่มขึ้น

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ
ตัวชี้วัด : 50% ของผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ร่วมกิจกรรมและได้รับความรู้แต่ละบู๊ท
20.00 30.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 750 650
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 250 250
กลุ่มวัยทำงาน 350 350
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้ในแต่ละบู๊ทนิทรรศการ1.บู๊ท อสม.นักวิทย์ 2.บู๊ทควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ 3.บู๊ทผู้สูงอายุ 4.บู๊ทแพทย์แผนไทย 5.บู๊ทป้องกันอัมพฤตอัมพาตโรงพยาบาลพัทลุง (2) กิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในชุมชน (3) รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในโรงเรียน (4) รณรงค์ส่งเสริมสุขภาพในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพคนเมืองลุงสุขภาพดี จังหวัด

รหัสโครงการ 2568-L7572-02-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอุดมศรี ซ้ายหุย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด