โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางช่วงทิพย์ ขาวคุ้ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-01 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนทั่วโลก โดยโรคมะเร็งที่พบ 5 อันดับแรกของโลก ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด มะเร็งลําไส้ใหญ่และไส้ตรง และมะเร็งปากมดลูก ตามลำดับ สำหรับประเทศไทย จากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า แต่ละปีมีคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ประมาณ 140,000 คน เสียชีวิตประมาณ 83,000 คน โดยโรคมะเร็งที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย 5 อันดับแรก คือ
1.มะเร็งตับและท่อน้ำดี
2.มะเร็งปอด
3.มะเร็งเต้านม
4.มะเร็งเต้านม
5.มะเร็งปากมดลูก
จากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เผยคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ปีละ 1.4 แสนคน เสียชีวิต 8.3 หมื่นคน กรมการแพทย์ ระบุ 5 อันดับมะเร็งที่คร่าชีวิตคนไทย คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเม็ดเลือดขาว พบมากสุดอายุระหว่าง 40-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง การป้องกัน และควบคุม โรคมะเร็งต้องมีการค้นหาโดยการตรวจเซลมะเร็งให้พบตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็งโดยเฉพาะโรคมะเร็งที่สามารถค้นหาและตรวจคัดกรองได้ด้วยตนเองเช่นมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปัญหาโรคมะเร็งจึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งอย่างเป็นรูปธรรม เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน
สำหรับตำบลคลองหรัง จากการคัดกรองการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ด้วยตนเอง ในปี 2567 โดยภาคีเครือข่าย อสม.ตำบลคลองหรัง พบว่า สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 922 คน ได้รับการคัดกรอง 230 คนคิดเป็นร้อยละ 24.95 มีผลการคัดกรองด้วยตนเอง HPV DNA TEST โดยพบเซลผิดปกติ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.39 สำหรับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ซึ่งมี กลุ่มเป้าหมายในการตรวจคือ ประชากรอายุ 50-70 ปี จำนวน 401 คน ได้รับการคัดกรอง 385 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00 พบมีผลบวก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16
เพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เครือข่าย อสม ตำบลคลองหรัง ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการถ่ายทอด อธิบายถึงขั้นตอน วิธีในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น อสม.ตำบลคลองหรัง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ขึ้น เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน
- ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง
- 1.1 ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยไวนิล ณ จุดสำคัญๆของหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน
- 2.1 ให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง ( โดยเชิญเจ้าหน้าที่จากรพ.สต.คลองหรัง/รพ.นาหม่อม/สสอ.นาหม่อม)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
922
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.ตำบลคลองหรัง มีความรู้ความเข้าใจต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ และมะเร็งอื่นๆที่พบได้บ่อยในประเทศไทยที่ สามารถค้นหา และสอนคัดกรอง/ให้คำแนะนำการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย พร้อมแนะนำระบบการส่งต่อได้อย่างเป็นระบบถูกต้องตามขั้นตอนในกรณีพบผู้ที่มีความผิดปกติได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงอายุ 30-60 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA Test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
80.00
2
ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี FIT test ไม่น้อยกว่าร้อยละละ 60
60.00
3
ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้อง Colonoscopy ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
60.00
4
ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้น สามารถสอน/ถ่ายทอดการปฏิบัติการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
922
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
922
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (3) ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน (4) ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง (3) 1.1 ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยไวนิล ณ จุดสำคัญๆของหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน (4) 2.1 ให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง ( โดยเชิญเจ้าหน้าที่จากรพ.สต.คลองหรัง/รพ.นาหม่อม/สสอ.นาหม่อม)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางช่วงทิพย์ ขาวคุ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 ”
ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางช่วงทิพย์ ขาวคุ้ง
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-01 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหรัง อำเภอนาหม่อม จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5205-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย และเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของคนทั่วโลก โดยโรคมะเร็งที่พบ 5 อันดับแรกของโลก ได้แก่ มะเร็งเต้านม มะเร็งต่อมลูกหมาก มะเร็งปอด มะเร็งลําไส้ใหญ่และไส้ตรง และมะเร็งปากมดลูก ตามลำดับ สำหรับประเทศไทย จากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ พบว่า แต่ละปีมีคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ประมาณ 140,000 คน เสียชีวิตประมาณ 83,000 คน โดยโรคมะเร็งที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทย 5 อันดับแรก คือ 1.มะเร็งตับและท่อน้ำดี 2.มะเร็งปอด 3.มะเร็งเต้านม 4.มะเร็งเต้านม 5.มะเร็งปากมดลูก จากสถิติโรคมะเร็งของสถาบันมะเร็งแห่งชาติ เผยคนไทยป่วยเป็นมะเร็งรายใหม่ปีละ 1.4 แสนคน เสียชีวิต 8.3 หมื่นคน กรมการแพทย์ ระบุ 5 อันดับมะเร็งที่คร่าชีวิตคนไทย คือ มะเร็งตับและท่อน้ำดี มะเร็งปอด มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเม็ดเลือดขาว พบมากสุดอายุระหว่าง 40-50 ปี ระยะที่พบส่วนใหญ่อยู่ในระยะลุกลาม การรักษาจึงเป็นไปได้ยากต้องเสียค่าใช้จ่ายสูง การป้องกัน และควบคุม โรคมะเร็งต้องมีการค้นหาโดยการตรวจเซลมะเร็งให้พบตั้งแต่ระยะเริ่มแรกและระยะก่อนเป็นมะเร็งโดยเฉพาะโรคมะเร็งที่สามารถค้นหาและตรวจคัดกรองได้ด้วยตนเองเช่นมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านมและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปัญหาโรคมะเร็งจึงจำเป็นต้องมีการบูรณาการความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อหาแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งอย่างเป็นรูปธรรม เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน สำหรับตำบลคลองหรัง จากการคัดกรองการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ด้วยตนเอง ในปี 2567 โดยภาคีเครือข่าย อสม.ตำบลคลองหรัง พบว่า สตรีอายุ 30-60 ปี จำนวน 922 คน ได้รับการคัดกรอง 230 คนคิดเป็นร้อยละ 24.95 มีผลการคัดกรองด้วยตนเอง HPV DNA TEST โดยพบเซลผิดปกติ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.39 สำหรับการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ซึ่งมี กลุ่มเป้าหมายในการตรวจคือ ประชากรอายุ 50-70 ปี จำนวน 401 คน ได้รับการคัดกรอง 385 คน คิดเป็นร้อยละ 96.00 พบมีผลบวก จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 4.16 เพื่อให้การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง ครอบคลุมประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่เครือข่าย อสม ตำบลคลองหรัง ต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการถ่ายทอด อธิบายถึงขั้นตอน วิธีในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ดังนั้น อสม.ตำบลคลองหรัง จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ขึ้น เพื่อติดตามกลุ่มเป้าหมาย ให้ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ด้วยตนเองอย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
- ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน
- ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
- กิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง
- 1.1 ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยไวนิล ณ จุดสำคัญๆของหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน
- 2.1 ให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง ( โดยเชิญเจ้าหน้าที่จากรพ.สต.คลองหรัง/รพ.นาหม่อม/สสอ.นาหม่อม)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 922 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม.ตำบลคลองหรัง มีความรู้ความเข้าใจต่อการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูก มะเร็งลำไส้ และมะเร็งอื่นๆที่พบได้บ่อยในประเทศไทยที่ สามารถค้นหา และสอนคัดกรอง/ให้คำแนะนำการคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตัวเองได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย พร้อมแนะนำระบบการส่งต่อได้อย่างเป็นระบบถูกต้องตามขั้นตอนในกรณีพบผู้ที่มีความผิดปกติได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงอายุ 30-60 ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก HPV DNA Test ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
80.00 |
|
||
2 | ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ โดยวิธี FIT test ไม่น้อยกว่าร้อยละละ 60 |
60.00 |
|
||
3 | ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ที่มีผลผิดปกติได้รับการส่งต่อเพื่อส่องกล้อง Colonoscopy ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 |
60.00 |
|
||
4 | ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้น สามารถสอน/ถ่ายทอดการปฏิบัติการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้อย่างถูกต้อง |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 922 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 922 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง HPV DNA Test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนอายุ 50-70 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ด้วยตนเอง โดยวิธี FIT test ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย (3) ข้อที่ 3 ประชากรกลุ่มเสี่ยง(ผลการตรวจผิดปกติ) ได้รับการตรวจซ้ำโดยเจ้าหน้าที่ และส่งต่อเพื่อรับการรักษาทุกคน (4) ข้อที่ 4 เพื่อเพิ่มศักยภาพ อสม.ต.คลองหรัง ในการสอนการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเองโดย HPV DNA Test และการคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยวิธี FIT Test แก่กลุ่มเป้าหมาย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง (3) 1.1 ประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่โดยไวนิล ณ จุดสำคัญๆของหมู่บ้าน ทั้ง 6 หมู่บ้าน (4) 2.1 ให้ความรู้แก่ อสม.ตำบลคลองหรัง ( โดยเชิญเจ้าหน้าที่จากรพ.สต.คลองหรัง/รพ.นาหม่อม/สสอ.นาหม่อม)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งลำไส้ใหญ่ ปี 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5205-02-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางช่วงทิพย์ ขาวคุ้ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......