โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนันทิกานต์ อุบล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1)
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากจำนวนคนเกิดลดลง และคนมีอายุยืนยาวขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการที่ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในนโยบายด้านประชากรและการวางแผน ครอบครัว ผนวกกับภาวะเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ((สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2567) ทำให้อัตราการเกิดลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความก้าวหน้าทางการแพทย์ สาธารณสุข และเทคโนโลยี ทำให้ประชากร มีอายุยืนยาวขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) คือประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากร ทั่วประเทศ (หรือประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 14) ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมของประเทศ ทำให้ต้องมีการจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น การจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่อย่างจำกัด การปรับปรุงระบบเกษียณอายุราชการ การจัดสรรสวัสดิการที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ การเตรียมระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุ และการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) หรือแนวคิดการออกแบบสิ่งแวดล้อม การสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในสังคมโดยเฉพาะผู้สูงอายุ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (WHO, 2024)
โดยกรมอนามัย (พ.ศ.2567) พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพด้วยโรคความดันโลหิตสูง 43.25% โรคเบาหวาน 20.45% และโรคซึมเศร้า 2.08% ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า 92.27% ได้รับการดูแลรักษา แต่ก็มีผู้สูงอายุมากถึง 42.31% ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และ 39.42% ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลำดับ ได้แก่ ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วันวันละ 15-30 นาทีเป็นประจำ (52.16%) ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้วเป็นประจำ (62.40%) รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำ (62.52%) ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (83.29%) และไม่สูบบุหรี่ (88.31.%) ส่งผลให้ผู้สูงอายุไทยมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญคือ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ซึ่งพบความชุก สูงถึง 42.74% ในเพศชาย และ 44.35% ในเพศหญิง โดยปัจจัยป้องกันที่สำคัญ ได้แก่ การออกกำลังกายเป็นประจำและการกินอาหารที่เหมาะสม นอกจากนั้นการสำรวจของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (พ.ศ.2567) พบว่าผู้สูงอายุยังมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวร่างกาย (51.08%) ด้านการมองเห็น (22.45%) และด้านจิตใจ (4.83%)
จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของผู้สูงอายุในเขตอำเภอควนกาหลง ในปีงบประมาณ 2567 จำนวน 5,311 คน เป็นเพศชาย 2,451 คน เพศหญิง 2,860 คน พบผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลควนกาหลง จำนวน 1,638 คน เมื่อสุ่มสำรวจผู้สูงอายุจำนวน 403 คน พบว่า ร้อยละ 62.03 เป็นผู้สูงอายุติดสังคม สามารถทำกิจกรรมชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 21.59 ติดบ้าน และร้อยละ 2.98 ติดเตียง ดังนั้น โรงพยาบาลควนกาหลงจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง ปี 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพเบื้องต้น อีกทั้งกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายเป็นเพื่อให้มีพฤติกรรมต่อเนื่องเป็นนิสัย เกิดความยั่งยืนส่งผลให้มีสุขภาพกายและจิตที่แข็งแรงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา
ตัวชี้วัด : 1 ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่เข้าร่วมทำแบบประเมินผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่เข้าร่วมสามารถออกกำลังกายได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพได้รับการส่งต่อไปรักษา ร้อยละ 100
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนันทิกานต์ อุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางนันทิกานต์ อุบล
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนกาหลง อำเภอควนกาหลง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนกาหลง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สถานการณ์ในปัจจุบันประเทศไทยมีประชากรสูงวัยเพิ่มขึ้นเนื่องมาจากจำนวนคนเกิดลดลง และคนมีอายุยืนยาวขึ้น ซึ่งเป็นผลจากการที่ประเทศไทยประสบผลสำเร็จในนโยบายด้านประชากรและการวางแผน ครอบครัว ผนวกกับภาวะเศรษฐกิจและการดำเนินชีวิตที่เปลี่ยนไป ((สำนักงานสถิติแห่งชาติ, 2567) ทำให้อัตราการเกิดลดลงอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความก้าวหน้าทางการแพทย์ สาธารณสุข และเทคโนโลยี ทำให้ประชากร มีอายุยืนยาวขึ้น ส่งผลให้โครงสร้างประชากรของประเทศไทยเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) คือประชากรอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีมากกว่าร้อยละ 20 ของประชากร ทั่วประเทศ (หรือประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไป มากกว่าร้อยละ 14) ซึ่งส่งผลกระทบต่อสภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมของประเทศ ทำให้ต้องมีการจัดระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี เช่น การจัดสรรทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่อย่างจำกัด การปรับปรุงระบบเกษียณอายุราชการ การจัดสรรสวัสดิการที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุ การเตรียมระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเพื่อผู้สูงอายุ และการออกแบบสถาปัตยกรรมเพื่อคนทั้งมวล (Universal Design) หรือแนวคิดการออกแบบสิ่งแวดล้อม การสร้างอาคารสถานที่ และสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ เป็นต้น เพื่อให้ทุกคนที่อยู่ในสังคมโดยเฉพาะผู้สูงอายุ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (WHO, 2024)
โดยกรมอนามัย (พ.ศ.2567) พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพด้วยโรคความดันโลหิตสูง 43.25% โรคเบาหวาน 20.45% และโรคซึมเศร้า 2.08% ผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมากกว่า 92.27% ได้รับการดูแลรักษา แต่ก็มีผู้สูงอายุมากถึง 42.31% ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และ 39.42% ไม่สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ที่ผู้สูงอายุไทยปฏิบัติตัวได้น้อยที่สุดเรียงตามลำดับ ได้แก่ ออกกำลังกายสัปดาห์ละ 3 วันวันละ 15-30 นาทีเป็นประจำ (52.16%) ดื่มน้ำสะอาดอย่างน้อยวันละ 8 แก้วเป็นประจำ (62.40%) รับประทานผักและผลไม้เป็นประจำ (62.52%) ไม่ดื่มสุรา/เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ (83.29%) และไม่สูบบุหรี่ (88.31.%) ส่งผลให้ผู้สูงอายุไทยมีปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพที่สำคัญคือ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ซึ่งพบความชุก สูงถึง 42.74% ในเพศชาย และ 44.35% ในเพศหญิง โดยปัจจัยป้องกันที่สำคัญ ได้แก่ การออกกำลังกายเป็นประจำและการกินอาหารที่เหมาะสม นอกจากนั้นการสำรวจของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (พ.ศ.2567) พบว่าผู้สูงอายุยังมีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหวร่างกาย (51.08%) ด้านการมองเห็น (22.45%) และด้านจิตใจ (4.83%)
จากการสำรวจสถานการณ์ปัญหาสุขภาวะของผู้สูงอายุในเขตอำเภอควนกาหลง ในปีงบประมาณ 2567 จำนวน 5,311 คน เป็นเพศชาย 2,451 คน เพศหญิง 2,860 คน พบผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพ ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลควนกาหลง จำนวน 1,638 คน เมื่อสุ่มสำรวจผู้สูงอายุจำนวน 403 คน พบว่า ร้อยละ 62.03 เป็นผู้สูงอายุติดสังคม สามารถทำกิจกรรมชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 21.59 ติดบ้าน และร้อยละ 2.98 ติดเตียง ดังนั้น โรงพยาบาลควนกาหลงจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง ปี 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมผู้สูงอายุให้มีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพเบื้องต้น อีกทั้งกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้ออกกำลังกายเป็นเพื่อให้มีพฤติกรรมต่อเนื่องเป็นนิสัย เกิดความยั่งยืนส่งผลให้มีสุขภาพกายและจิตที่แข็งแรงต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา ตัวชี้วัด : 1 ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่เข้าร่วมทำแบบประเมินผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่เข้าร่วมสามารถออกกำลังกายได้อย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพได้รับการส่งต่อไปรักษา ร้อยละ 100 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิต 2. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง มีความรู้ ความเข้าใจในการออกกำลังกาย 3. ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพ ได้รับการส่งต่อไปรับการรักษา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่ผู้สูงอายุในเขต หมู่ 3,4 และ 7 ตำบลควนกาหลง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพ ผู้สูงอายุโรงพยาบาลควนกาหลง จังหวัดสตูล ปี2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนันทิกานต์ อุบล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......