กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเจ๊ะบุเง๊าะ หลงเจะ




ชื่อโครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5246 เลขที่ข้อตกลง 4/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5246 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมาแต่โบราณ ซึ่งก่อนที่แพทย์แผนปัจจุบันและระบบสาธารณสุขยังไม่เจริญก้าวหน้า ชุมชนต่างๆ นิยมนำสมุนไพรมาใช้บรรเทาอาการ รักษาอาการเจ็บป่วย หรือแม้กระทั่งนำมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อใช้ในการป้องกันโรค ซึ่งสรรพคุณของสมุนไพรชนิดต่างๆ เหล่านี้ ล้วนเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่าและสำคัญอย่างยิ่ง ทั้งนี้ การรักษาโรคด้วยสมุนไพรมักจะได้รับการสืบทอดกันมาอย่างยาวนานจากบรรพบุรุษ ในรูปแบบของตำรายาแผนโบราณ แพทย์แผนไทย แพทย์แผนจีน เป็นต้น การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคและพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้รับความนิยมตามกระแสการรักสุขภาพ อีกทั้งยังช่วยลดปัญหาเรื่องของความเสี่ยงจากผลกระทบของการใช้ยาแผนปัจจุบันที่ส่งผลต่ออวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ปัจจุบันสมุนไพรได้รับความนิยมในสังคมเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการนำสมุนไพรมาแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ทางชมรมคนพิการตำบลท่าโพธิ์จึงมีแนวคิดที่จะนำสมุนไพรมาแปรรูปเป็นยาหม่อง และสเปรย์ไล่ยุง เนื่องจากผลิตภัณฑ์ดังกล่าวเป็นสิ่งที่จำเป็นในชีวิตประจำวันของมนุษย์ และยังเป็นการส่งเสริมการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนเป็นการอนุรักษ์สมุนไพรไทยให้อยู่คู่กับคนไทยไปอีกนาน
    ทั้งนี้ ในตำบลท่าโพธิ์ยังมีสมุนไพรพื้นบ้านหลงเหลืออีกจำนวนมาก แต่ขาดการนำภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 2 ตำบลท่าโพธิ์ จึงมีความประสงค์ที่จะจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ได้เรียนรู้ถึงคุณค่าและสรรพคุณของสมุนไพรเพิ่มขึ้น ตลอดจนหันมาใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของตนและคนในครอบครัว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำยาหม่องสมุนไพรไว้ใช้เอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติ
  3. อบรมให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ
  4. กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 12
กลุ่มผู้สูงอายุ 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่สามารถนำมาใช้ในการทำการยาหม่อง
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้รับกลับไปปฏิบัติด้วยการผลิตยาหม่องสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ

วันที่ 20 เมษายน 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน  30  คน มีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำเพิ่มขึ้น โดยวัดจากแบบทดสอบ ดังนี้     - ก่อนอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำ คิดเป็นร้อยละ 79     - หลังอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำ คิดเป็นร้อยละ 99

 

30 0

2. กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร

วันที่ 20 เมษายน 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาดมพิมเสนสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือนได้
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำยาดมพิมเสนและสามารถนำกลับไปถ่ายทอดให้คนในชุมชน หรือผู้อื่นที่สนใจได้

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 : อบรมให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ โดยวิทยากร นางสาววรัญญา บุญประเสริฐ ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย ดำเนินการเมื่อวัน อาทิตย์ ที่ 20 เดือน เมษายน พ.ศ. 2568 ณ อาคารมัสยิดอันซอริสสุนนะฮ์ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน มีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำเพิ่มขึ้น โดยวัดจากแบบทดสอบ ดังนี้
    • ก่อนอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำ คิดเป็นร้อยละ 79
    • หลังอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่องสมุนไพร และขั้นตอนการทำ คิดเป็นร้อยละ 99

กิจกรรมที่ 2 : กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร โดยวิทยากร นางสาว วรัญญา บุญประเสริฐ ตำแหน่ง แพทย์แผนไทย ดำเนินการเมื่อวันอาทิตย์ ที่ 20 เดือน เมษายน พ.ศ. 2568 ณ อาคารมัสยิดอันซอริสสุนนะฮ์ หมู่ที่ 2 ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำยาดมพิมเสนสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือนได้

  2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำยาดมพิมเสนและสามารถนำกลับไปถ่ายทอดให้คนในชุมชน หรือผู้อื่นที่สนใจได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้มีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ
99.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำยาหม่องสมุนไพรไว้ใช้เอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายสามารถทำยาหม่องสมุนไพรไว้ใช้เอง
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 12 12
กลุ่มผู้สูงอายุ 18 18
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ (2) 2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำยาหม่องสมุนไพรไว้ใช้เอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติ (3) อบรมให้ความรู้เรื่องสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้สำหรับทำยาหม่อง และขั้นตอนการทำ (4) กิจกรรมสาธิตและฝึกปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมเชิงปฏิบัติการทำยาหม่องสมุนไพร ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5246

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจ๊ะบุเง๊าะ หลงเจะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด