กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายคีรีวัฒน์ แซ่ซู้




ชื่อโครงการ โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5248-68-02-01 เลขที่ข้อตกลง 11/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-68-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้สุขภาพเป็นเรื่องสำคัญที่เราทุกคนต้องดูแลไม่ว่าสุขภาพกายหรือสุขภาพจิต ยิ่งโรคอ้วนลงพุง เป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญเกิดขึ้นในประชากรทั่วไปอย่างรวดเร็วและกำลังเพิ่มขึ้นทั่วโลก โรคอ้วนลงพุง เป็นกลุ่มอาการของความผิดปกติที่เกิดจากกระบวนการเผ่าผลาญพลังงานในร่างกาย ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจและเกิดภาวะแทรกซ้อนที่่มีอันตรายรุนแรงถึงแก่ชีวิตได้ดังนั้นเป้าหมายในการดูแลรักษาคือการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดและหัวใจ การแก้ปัจจัยที่เป็นสาเหตุได้แก่โรคอ้วนและภาวะดื้ออินซูลินโดยการป้องกันและควบคุมความดันโลหิตสูง ควบคุมเบาหวาน การลดน้ำหนักตัวและที่สำคัญควบคุมระดับไขมันในเลือดด้วนการลดไตรกลีเซอร์ไรด์ แอล-ด-แอล โคเรสเตอรอล และเพิ่มเอช-ดี-แอลโคเรสเตอรอลในเลือดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำเนินชีวิต การออกกำลังกายเป็นการเคลื่อนไหวร่างกายที่มีการหด คลายของกล้ามเนื้อ ซึ่งมีผลต่อการทำงานของระบบต่างๆในร่างกาย ในการนี้ทางโรงเรียนบ้านใหม่จึงเห็นความสำคัญในการออกกำลังกายและเพื่อลดปัญหาโรคอ้วนในวัยเด็กของนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการ ลดพุงลดโรคขึ้นเพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจการออกกำลังกายที่ถูกวิธี เหมาะสมตามวัย และฝึกปฏิบัติจริงเพื่อปฏิบัติในชีวิตจริงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
  2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วม โครงการ
  3. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    กำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์

     

    2 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วม โครงการ
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75

     

    3 ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ร้อยละ 75

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีการรับรู้ความสามารถในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้านอาหาร การออกกกำลังกาย และการจัดการด้านอารมณ์ ได้ด้วยตนเองในระดับมากเพิ่มขึ้นจากก่อนเข้าร่วมโครงการ (2) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายและรอบเอวลดลงจากก่อนเข้าร่วม โครงการ (3) ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคนรุ่นใหม่ หัวใจสุขภาพ ประจำปี 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5248-68-02-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายคีรีวัฒน์ แซ่ซู้ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด