กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568 ”
ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางณัฏฐนิช เลาะปนสา




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L5248-68-02-04 เลขที่ข้อตกลง 14/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปริก อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L5248-68-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,860.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปริก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้กำหนดให้การแก้ปัญหายาเสพติดเป็นวาระสำคัญของชาติที่ทุกหน่วยงานจะต้องให้ความร่วมมือทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน ในการป้องกันแก้ปัญหาและต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดให้เบาบางลงหรือหมดสิ้นไปโดยเร็วเพื่อให้การดำเนินการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล โดยเฉพาะการมอบหมายภารกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามีบทบาทในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น โรงเรียนบ้านหัวถนน ได้เห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้บุคลากร นักเรียน ได้นำวิธีการเกี่ยวกับการป้องกัน แก้ปัญหา และต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดเพื่อนำมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติต่อตนเองและบุคคลรอบข้าง และถือเป็นนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในการ “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด” ที่จะป้องกันไม่ให้เยาวชนเข้าไปมั่วสุมกับยาเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด”
  2. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถดูแลนักเรียน ตนเองบุคคลในครอบครัว ได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
  4. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามยาเสพติดในสถานศึกษา
  5. เพื่อสนับสนุนกิจกรรมเพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนชั้น ป. 3-6

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58
    กลุ่มวัยทำงาน 12
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ผลผลิต ( Output )       1. โรงเรียนได้สนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด” 2. นักเรียนสามารถดูตนเองและบุคคลในครอบครัว ได้อย่างเหมาะสม 3. บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ผลลัพธ์ ( Outcome) 1.ปลอดยาเสพติดในสถานศึกษา
    2.นักเรียนชั้น ป.3-6 ปลอดยาเสพติด ผลที่คาดว่าจะได้รับ       1. โรงเรียนได้สนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด” 2. นักเรียนสามารถดูตนเองและบุคคลในครอบครัว ได้อย่างเหมาะสม 3. บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและ
            ผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม       4. ปลอดยาเสพติดในสถานศึกษา
    5. นักเรียนชั้น ป.3-6 ปลอดยาเสพติด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อสนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด”
    ตัวชี้วัด : สนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด”

     

    2 เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถดูแลนักเรียน ตนเองบุคคลในครอบครัว ได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : พัฒนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถดูแลนักเรียน ตนเองบุคคลในครอบครัว ได้อย่างเหมาะสม

     

    3 เพื่อให้บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม
    ตัวชี้วัด : ให้บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม

     

    4 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามยาเสพติดในสถานศึกษา
    ตัวชี้วัด : เฝ้าระวังและติดตามยาเสพติดในสถานศึกษา

     

    5 เพื่อสนับสนุนกิจกรรมเพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนชั้น ป. 3-6
    ตัวชี้วัด : สนับสนุนกิจกรรมเพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนชั้น ป. 3-6

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 58
    กลุ่มวัยทำงาน 12
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสนองนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล “รวมพลังแผ่นดิน ขจัดสิ้นยาเสพติด” (2) เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และสามารถดูแลนักเรียน ตนเองบุคคลในครอบครัว  ได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้บุคลากร และนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด ว่ามีโทษต่อร่างกายและจิตใจและผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม (4) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามยาเสพติดในสถานศึกษา (5) เพื่อสนับสนุนกิจกรรมเพื่อป้องกันกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มนักเรียนชั้น ป. 3-6

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการป้องกัน แก้ปัญหายาเสพติดและอบายมุข ประจำปี 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ L5248-68-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางณัฏฐนิช เลาะปนสา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด