โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกุศลี นิลพันธ์ ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนศาลาหัวยาง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-10 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ที่มีการระบาดต่อเนื่อง ซึ่งสถานการณ์ โรคไข้เลือดออก ปี 2567 ได้ทวีความรุนแรงและมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ เมื่อเข้าสู่ ฤดูฝนทำให้เหมาะแก่การขยายพันธุ์ของยุงลาย ซึ่งพื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครสงขลานั้นได้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลายและยุงรำคาญเนื่องจากมีประชากรที่หนาแน่นหลายพันครัวเรือน การปลูกอาคารบ้านเรือนที่หนาแน่น และชุมชนแออัด ส่งผลให้การดูแลทำความสะอาดถนน คูระบายน้ำ และพื้นที่สาธารณะต่างๆไม่ทั่วถึง อีกทั้งขาดความร่วมมือ เอาใจใส่จากประชาชนในชุมชน จึงก่อให้เกิดการแพร่พันธุ์ยุงลายในบริเวณกว้าง ทำให้มีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก ทุกกลุ่มอายุและทุกวัย โดยคาดว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นตลอดปี หากไม่มีการเร่งรัดป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก โดยเป้าหมายหลักคือ ต้องร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของ 7 ชุมชน (ท่าสะอ้าน, ศาลาหัวยาง, นอกสวน,หัวป้อม, วังเขียว - วังขาว, หลังวัดอุทัยธาราม, สวนมะพร้าว) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบผู้ป่วยสะสม
โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน 264 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3156.38 ต่อประชากรแสนคน
และพบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ทั้ง 7 ชุมชนเขตรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 56 ราย ซึ่งมีแนวโน้มการระบาดของโรคกระจายไปทุกพื้นที่ใน ๗ ชุมชน
จากปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในส่วนรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน เป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชนและร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง และการสร้างความสามัคคี ในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
- 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆ ที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์
- ค่าน้ำมันรถจักรยานยนต์
- ค่าน้ำมันรถซาเล้ง
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าสรุปรูปเล่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทั้ง 7 ชุมชน มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออันส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคอื่น ๆ ลดลง
- ทำให้สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายได้
- ทำให้สามารถลดอัตราป่วย ไม่มีรายงายผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม และ ค่า HI < 10 (< 10%)
100.00
2
2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2. อัตราป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่น้อยว่า 200 ต่อแสนประชากร
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
355
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
355
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน (2) 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆ ที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง (4) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารกลางวัน (6) ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ (7) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ (8) ค่าน้ำมันรถจักรยานยนต์ (9) ค่าน้ำมันรถซาเล้ง (10) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน (11) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (12) ค่าอาหารกลางวัน (13) ค่าตอบแทนวิทยากร (14) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น (15) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (16) ค่าสรุปรูปเล่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกุศลี นิลพันธ์ ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนศาลาหัวยาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางกุศลี นิลพันธ์ ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนศาลาหัวยาง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-10 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกนับเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ ที่มีการระบาดต่อเนื่อง ซึ่งสถานการณ์ โรคไข้เลือดออก ปี 2567 ได้ทวีความรุนแรงและมีการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่องในหลายพื้นที่ เมื่อเข้าสู่ ฤดูฝนทำให้เหมาะแก่การขยายพันธุ์ของยุงลาย ซึ่งพื้นที่ภายในเขตเทศบาลนครสงขลานั้นได้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ ยุงลายและยุงรำคาญเนื่องจากมีประชากรที่หนาแน่นหลายพันครัวเรือน การปลูกอาคารบ้านเรือนที่หนาแน่น และชุมชนแออัด ส่งผลให้การดูแลทำความสะอาดถนน คูระบายน้ำ และพื้นที่สาธารณะต่างๆไม่ทั่วถึง อีกทั้งขาดความร่วมมือ เอาใจใส่จากประชาชนในชุมชน จึงก่อให้เกิดการแพร่พันธุ์ยุงลายในบริเวณกว้าง ทำให้มีผู้ป่วยและตายด้วยโรคไข้เลือดออก ทุกกลุ่มอายุและทุกวัย โดยคาดว่าจะมีจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นตลอดปี หากไม่มีการเร่งรัดป้องกันและควบคุมไข้เลือดออก โดยเป้าหมายหลักคือ ต้องร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ของ 7 ชุมชน (ท่าสะอ้าน, ศาลาหัวยาง, นอกสวน,หัวป้อม, วังเขียว - วังขาว, หลังวัดอุทัยธาราม, สวนมะพร้าว) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2567 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2567 พบผู้ป่วยสะสม
โรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลนครสงขลา จำนวน 264 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 3156.38 ต่อประชากรแสนคน
และพบจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ทั้ง 7 ชุมชนเขตรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จำนวน 56 ราย ซึ่งมีแนวโน้มการระบาดของโรคกระจายไปทุกพื้นที่ใน ๗ ชุมชน
จากปัญหาดังกล่าว อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนในส่วนรับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง
ได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคไข้เลือดออก โดยมีความเห็นร่วมกันที่จะให้อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน เป็นผู้มีบทบาทกระตุ้นเตือนชุมชนและร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่องในชุมชน รวมทั้งส่งเสริมให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจในโรคไข้เลือดออก การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของตนเอง และการสร้างความสามัคคี ในหมู่คณะ เพื่อให้การดำเนินงานควบคุมโรคและป้องกันโรคไข้เลือดออกประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทางอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร่วมกับศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน
- 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆ ที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้
- ค่าวัสดุ อุปกรณ์
- ค่าน้ำมันรถจักรยานยนต์
- ค่าน้ำมันรถซาเล้ง
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าอาหารกลางวัน
- ค่าตอบแทนวิทยากร
- ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น
- ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม
- ค่าสรุปรูปเล่ม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 355 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ทั้ง 7 ชุมชน มีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมโรคติดต่ออันส่งผลให้จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคอื่น ๆ ลดลง
- ทำให้สามารถลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายได้
- ทำให้สามารถลดอัตราป่วย ไม่มีรายงายผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีส่วนร่วมในการดูแลสิ่งแวดล้อม และ ค่า HI < 10 (< 10%) |
100.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน ตัวชี้วัด : 2. อัตราป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่น้อยว่า 200 ต่อแสนประชากร |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 355 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 355 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการป้องกันควบคุม โรคติดต่อที่สำคัญในชุมชน (2) 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆ ที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง (4) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (5) ค่าอาหารกลางวัน (6) ค่าจัดทำสื่อให้ความรู้ (7) ค่าวัสดุ อุปกรณ์ (8) ค่าน้ำมันรถจักรยานยนต์ (9) ค่าน้ำมันรถซาเล้ง (10) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน (11) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (12) ค่าอาหารกลางวัน (13) ค่าตอบแทนวิทยากร (14) ค่าใช้จ่ายอื่นๆที่จำเป็น (15) ค่าอาหารพร้อมเครื่องดื่ม (16) ค่าสรุปรูปเล่ม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมและป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก ใน 7 ชุมชน เขตศูนย์บริการสาธารณสุขเตาหลวง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกุศลี นิลพันธ์ ตำแหน่ง ประธาน อสม.ชุมชนศาลาหัวยาง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......