โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเมธินี จินเดหวา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย)
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-23 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ ว1214 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2564 เรื่องการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564 ซักซ้อมการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยกำหนดให้มีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กเพื่อให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงโดยเน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าก้ม อย่าเก็บ” และการตะโกนขอความช่วยเหลือ
และจากรายงานองค์การอนามัยโลกพบว่า ในทุกๆ ปีมีเด็กทั่วโลก อายุ 2-6 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ 140,553 คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ 3 รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและเอดส์ สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุ 2-6 ปี ซึ่งมีจำนวนการเสียชีวิตสูงมากกว่าโรคติดต่อนำโดยแมลงและไข้เลือดออกถึง 14 เท่าตัวจากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุกๆ 1 เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยสูญเสียเด็กไปแล้วถึง 11,323 คน นอกจากนี้ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากจมน้ำ พบว่ากลุ่มเด็ก อายุ 2-6 ปี พบจมน้ำเสียชีวิตสูงเฉลี่ยถึงปีละ 213 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีทั้งหมด ในปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในผู้ใหญ่และเด็กซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ของประเทศไทย
โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา ได้เล็งเห็นความสำคัญจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก แต่เด็กยังต้องได้รับการป้องกันและดูแลความปลอดภัยที่เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง ครูผู้สอนและผู้ปกครองจึงมีบทบาทร่วมกันในการพัฒนาเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพ ที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ
- 2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน
- 3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ
- 4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ
- 2 กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3)
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6)
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/2)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนว่ายน้ำเป็นและมีทักษะการว่ายน้ำที่ดี .
- นักเรียนลดความเสี่ยงการเสียชีวิตจากการจมน้ำ .
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง .
- นักเรียนมีความสนใจในการเล่นกีฬา และห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่สามารถว่ายน้ำได้ในระดับพื้นฐาน
90.00
2
2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ
95.00
3
3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 85 ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมว่ายน้ำและมีสุขภาพดี
85.00
4
4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีความสนใจและลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมว่ายน้ำ
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
90
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน (3) 3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ (4) 4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ (2) 2 กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ (3) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3) (4) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) (5) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1) (6) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/1) (7) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/2) (8) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1) (9) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2) (10) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3) (11) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเมธินี จินเดหวา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางเมธินี จินเดหวา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย)
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-23 เลขที่ข้อตกลง 11/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,650.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0816.4/ ว1214 ลงวันที่ 11 มิถุนายน 2564 เรื่องการเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยของเด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียนที่จัดการศึกษาระดับปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่น ปีการศึกษา 2564 ซักซ้อมการป้องกันเด็กจมน้ำในเด็กปฐมวัย โดยกำหนดให้มีการบรรจุเรื่องการป้องกันการจมน้ำในเด็กปฐมวัยไว้ในกิจกรรมการเรียนรู้ของเด็กเพื่อให้เด็กรู้จักแหล่งน้ำเสี่ยงโดยเน้นการสอน “อย่าใกล้ อย่าก้ม อย่าเก็บ” และการตะโกนขอความช่วยเหลือ
และจากรายงานองค์การอนามัยโลกพบว่า ในทุกๆ ปีมีเด็กทั่วโลก อายุ 2-6 ปี เสียชีวิตจากการจมน้ำ 140,553 คน โดยเสียชีวิตเป็นอันดับ 3 รองจากโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบและเอดส์ สำหรับสถานการณ์ของประเทศไทยพบว่าการจมน้ำเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของเด็กไทยอายุ 2-6 ปี ซึ่งมีจำนวนการเสียชีวิตสูงมากกว่าโรคติดต่อนำโดยแมลงและไข้เลือดออกถึง 14 เท่าตัวจากข้อมูลของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่าทุกๆ 8 ชั่วโมง จะมีเด็กจมน้ำเสียชีวิต 1 คน โดยเฉลี่ยทุกๆ 1 เดือนประเทศไทยสูญเสียเด็กจากการจมน้ำเสียชีวิตมากกว่า 90 คน ซึ่งในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยสูญเสียเด็กไปแล้วถึง 11,323 คน นอกจากนี้ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงของการเสียชีวิตจากจมน้ำ พบว่ากลุ่มเด็ก อายุ 2-6 ปี พบจมน้ำเสียชีวิตสูงเฉลี่ยถึงปีละ 213 คน คิดเป็นร้อยละ 21 ของกลุ่มเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีทั้งหมด ในปัจจุบันอุบัติเหตุจากการจมน้ำยังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งในผู้ใหญ่และเด็กซึ่งสาเหตุดังกล่าวยังเป็นอันดับแรกของการเสียชีวิตของเด็กส่วนใหญ่ของประเทศไทย
โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา ได้เล็งเห็นความสำคัญจากอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็ก แต่เด็กยังต้องได้รับการป้องกันและดูแลความปลอดภัยที่เกิดขึ้น อย่างต่อเนื่อง ครูผู้สอนและผู้ปกครองจึงมีบทบาทร่วมกันในการพัฒนาเด็กนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพ ที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ
- 2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน
- 3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ
- 4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ
- 2 กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3)
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6)
- กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/2)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3)
- กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนว่ายน้ำเป็นและมีทักษะการว่ายน้ำที่ดี .
- นักเรียนลดความเสี่ยงการเสียชีวิตจากการจมน้ำ .
- นักเรียนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง .
- นักเรียนมีความสนใจในการเล่นกีฬา และห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนที่สามารถว่ายน้ำได้ในระดับพื้นฐาน |
90.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 95 ของนักเรียนที่มีความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยทางน้ำ |
95.00 |
|
||
3 | 3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 85 ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมว่ายน้ำและมีสุขภาพดี |
85.00 |
|
||
4 | 4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ตัวชี้วัด : 4. ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่มีความสนใจและลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมว่ายน้ำ |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 30 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 90 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะการว่ายน้ำและเรียนรู้การเอาตัวรอดในน้ำ (2) 2. เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุทางน้ำในกลุ่มนักเรียน (3) 3. เพื่อพัฒนาสุขภาพและความแข็งแรงทางกายของนักเรียนผ่านการว่ายน้ำ (4) 4. เพื่อสร้างความสนใจในกิจกรรมว่ายน้ำและลดเวลาว่างที่อาจก่อให้เกิดพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ (2) 2 กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ (3) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3) (4) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6) (5) กิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้นักเรียนในเรื่องวิธีปฏิบัติตนเมื่อจมน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1) (6) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/1) (7) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำมหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา (ชั้นอนุบาล 3/2) (8) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1) (9) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2) (10) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3) (11) กิจกรรมฝึกว่ายน้ำ ณ สระว่ายน้ำสนามติณสูลานนท์ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการฝึกและเพิ่มทักษะการว่ายน้ำเพื่อความปลอดภัยและสุขภาพที่ดีของนักเรียน โรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) สังกัดสำนักการศึกษา เทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-23
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเมธินี จินเดหวา ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานศึกษาโรงเรียนเทศบาล ๔ (บ้านแหลมทราย) )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......