โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกมลพันธ์ กุณฑโร ตำแหน่ง ประธาน ชมรมราชาวดี ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-22 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ มีประชากรรับผิดชอบในพื้นที่ทั้งหมด 19,779 คน ซึ่งมีอัตราป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1,884 คน โรคความดันโลหิตสูง 3,310 คน, โรคหัวใจ 48 คน รวมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำนวน 5,242 คน คิดเป็นร้อยละ 26.5 และมีแกนนำทางด้านสุขภาพ อยู่ 209 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCDs ) กลุ่มเสี่ยง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.92 และเป็นกลุ่มป่วย 115 คน คิดเป็นร้อยละ 55.02 ซึ่งต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้กับกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพแกนนำด้านสุขภาพ พบปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) ปัญหาดังกล่าวเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว รวมถึงชุมชน และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นตามมา
ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ได้เห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้รวมกลุ่มแกนนำเพื่อจัดตั้งชมรมลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังราชาวดีขึ้นมา เพื่อส่งเสริม พัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนกับแกนนำสุขภาพในชมรมจึงได้จัดทำโครงการนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง
- 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ
- ครั้งที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทการเป็นแกนนำด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง
- ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ครั้งที่ 3 กิจกรรมจัดกระบวนการให้กลุ่มแกนนำมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน
- ครั้งที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ พัฒนาสุขภาพจิต ฝึกบริหารสมอง ลดความเครียดพร้อมที่จะเป็นแกนนำสุขภาพ
- ฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับชมรมเฟื่องฟ้า ชมรมจันทร์กระจ่างฟ้า ชมรมพุทธรักษา และชมรมบานไม่รู้โรย วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มแกนนำสุขภาพรับรู้ถึงภาวะสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
- กลุ่มแกนนำสุขภาพมีความรู้ มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มแกนนำสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันคิดและเกิดบุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่า 5 คน
100.00
2
2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มแกนนำสามารถประเมินภาวะสุขภาพของตนเองได้ คิดเป็นร้อยละ 100
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ (5) ครั้งที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทการเป็นแกนนำด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง (6) ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสม (7) ครั้งที่ 3 กิจกรรมจัดกระบวนการให้กลุ่มแกนนำมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน (8) ครั้งที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ พัฒนาสุขภาพจิต ฝึกบริหารสมอง ลดความเครียดพร้อมที่จะเป็นแกนนำสุขภาพ (9) ฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ (10) แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับชมรมเฟื่องฟ้า ชมรมจันทร์กระจ่างฟ้า ชมรมพุทธรักษา และชมรมบานไม่รู้โรย วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายกมลพันธ์ กุณฑโร ตำแหน่ง ประธาน ชมรมราชาวดี ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายกมลพันธ์ กุณฑโร ตำแหน่ง ประธาน ชมรมราชาวดี ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-22 เลขที่ข้อตกลง 12/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,200.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ มีประชากรรับผิดชอบในพื้นที่ทั้งหมด 19,779 คน ซึ่งมีอัตราป่วยเป็นโรคเบาหวาน 1,884 คน โรคความดันโลหิตสูง 3,310 คน, โรคหัวใจ 48 คน รวมผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจำนวน 5,242 คน คิดเป็นร้อยละ 26.5 และมีแกนนำทางด้านสุขภาพ อยู่ 209 คน เป็นกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ( NCDs ) กลุ่มเสี่ยง 50 คน คิดเป็นร้อยละ 23.92 และเป็นกลุ่มป่วย 115 คน คิดเป็นร้อยละ 55.02 ซึ่งต้องได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง และสามารถนำไปใช้กับกับกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพแกนนำด้านสุขภาพ พบปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) ปัญหาดังกล่าวเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว รวมถึงชุมชน และส่งผลกระทบทางเศรษฐกิจ ซึ่งเกิดจากภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นตามมา ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ใจกลางเมือง และชลาทัศน์ได้เห็นความสำคัญถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้รวมกลุ่มแกนนำเพื่อจัดตั้งชมรมลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังราชาวดีขึ้นมา เพื่อส่งเสริม พัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง( NCDs ) และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนกับแกนนำสุขภาพในชมรมจึงได้จัดทำโครงการนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง
- 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง
- กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ
- กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ
- ครั้งที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทการเป็นแกนนำด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง
- ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสม
- ครั้งที่ 3 กิจกรรมจัดกระบวนการให้กลุ่มแกนนำมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน
- ครั้งที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ พัฒนาสุขภาพจิต ฝึกบริหารสมอง ลดความเครียดพร้อมที่จะเป็นแกนนำสุขภาพ
- ฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับชมรมเฟื่องฟ้า ชมรมจันทร์กระจ่างฟ้า ชมรมพุทธรักษา และชมรมบานไม่รู้โรย วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มแกนนำสุขภาพรับรู้ถึงภาวะสุขภาพตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
- กลุ่มแกนนำสุขภาพมีความรู้ มีทักษะในการจัดการสุขภาพของตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มแกนนำสุขภาพมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันคิดและเกิดบุคคลต้นแบบ ไม่น้อยกว่า 5 คน |
100.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มแกนนำสามารถประเมินภาวะสุขภาพของตนเองได้ คิดเป็นร้อยละ 100 |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างแกนนำมีความรู้ ความสามารถ มีทักษะในการจัดการสุขภาพตนเอง (2) 2. เพื่อประเมินกลุ่มแกนนำถึงภาวะสุขภาพของตนเอง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และออกกำลังกาย จำนวน 4 ครั้ง (3) กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอื่นๆ (5) ครั้งที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับบทบาทการเป็นแกนนำด้านสุขภาพเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตนเอง (6) ครั้งที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพและการออกกำลังกายที่เหมาะสม (7) ครั้งที่ 3 กิจกรรมจัดกระบวนการให้กลุ่มแกนนำมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โรคไม่ติดต่อเรื้อรังร่วมกัน (8) ครั้งที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ พัฒนาสุขภาพจิต ฝึกบริหารสมอง ลดความเครียดพร้อมที่จะเป็นแกนนำสุขภาพ (9) ฐานเสริมพลังกลุ่มแกนนำสุขภาพ (10) แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชมรมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังกับชมรมเฟื่องฟ้า ชมรมจันทร์กระจ่างฟ้า ชมรมพุทธรักษา และชมรมบานไม่รู้โรย วันศุกร์ ที่ 5 กันยายน 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาแกนนำสุขภาพด้านโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ชมรมราชาวดี จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายกมลพันธ์ กุณฑโร ตำแหน่ง ประธาน ชมรมราชาวดี ศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......