โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางโสพิน ทองศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต มีแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการและ ให้ความสำคัญกับชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายการร่วมลงทุนเป็นเจ้าของ ในการขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกระดับพื้นที่และดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมสำคัญ (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 - 2 ปี การร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กในช่วง 1,000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ซึ่งเป็นกลไก ที่เกิดจากความร่วมมือภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ ์มีความพร้อมตั้งแต่ระยะก่อนตั้งครรภ์ ที่เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กปฐมวัยเติบโตเต็ม
งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนางอ ตำบลนาท่ามเหนือ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่า หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ มารดาไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ วัยรุ่นจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า ๒๐ ปี เช่น ภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม และวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจสำหรับการเป็นแม่เมื่อไม่พร้อมในการเป็นแม่จึงฝากบุตรไว้กับญาติหรือผู้ดูแลเด็ก โดยการให้กินนมผสม ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจตามมานอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือการต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษาพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้งกาย จิต การศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัวและสังคมไทยในภาพรวม ซึ่งก็ยังเป็นปัญหาที่เชี่อมโยงและส่งผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนางอ จึงได้จัดทำโครงการขึ้น คาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จะช่วยให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งครอบคลุมถึงการสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการ การพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข และงานบริการด้านสังคม การพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์และเป้าหมายเดียวกันที่จะพัฒนาและสร้างทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมส่งต่อพลเมืองคุณภาพให้กับประเทศไทยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
- .เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม
2.หญิงตั้งครรภ์คลอดอย่างปลอดภัย และลูกเกิดรอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
ตัวชี้วัด : ร้อยละการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ฝากครรภ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ60
-ร้อยละโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ14
60.00
2
.เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ไม่เกินร้อยละ 7
-ร้อยละของเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว
ไม่น้อยกว่าร้อยละ50
-ร้อยละของเด็ก0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ64
-ร้อยละของเด็ก0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ90
-ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ไม่เกินร้อยละ48
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
25
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด (2) .เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางโสพิน ทองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางโสพิน ทองศรี
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 มีนาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาท่ามเหนือ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,080.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาท่ามเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การขับเคลื่อนงานมหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต มีแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการและ ให้ความสำคัญกับชุมชน ท้องถิ่น และภาคีเครือข่ายการร่วมลงทุนเป็นเจ้าของ ในการขับเคลื่อนงานโดยใช้กลไกระดับพื้นที่และดำเนินการครบถ้วนทุกกิจกรรมสำคัญ (กิน กอด เล่น เล่า นอน เฝ้าดูฟัน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทุกคน ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ หญิงให้นมบุตร และเด็กอายุ 0 - 2 ปี การร่วมพัฒนาและยกระดับการดูแล ส่งเสริมสุขภาพสตรีและเด็กในช่วง 1,000 วันแรก ของชีวิต ต่อเนื่องไปจนถึงเด็กอายุ 5 ปี ผ่านกลไกตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ซึ่งเป็นกลไก ที่เกิดจากความร่วมมือภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ และคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย ตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์มารดา จนถึงเด็กอายุ 5 ปี รวมถึงการส่งเสริมให้หญิงวัยเจริญพันธุ ์มีความพร้อมตั้งแต่ระยะก่อนตั้งครรภ์ ที่เป็นจุดเริ่มต้นสำคัญของการส่งเสริมให้การตั้งครรภ์มีคุณภาพ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย และเด็กปฐมวัยเติบโตเต็ม
งานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนางอ ตำบลนาท่ามเหนือ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่า หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์เกิน 12 สัปดาห์ มารดาไม่สามารถเลี้ยงบุตรด้วยนมแม่ วัยรุ่นจะมีภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์สูงกว่าผู้ที่มีอายุเกินกว่า ๒๐ ปี เช่น ภาวะโลหิตจาง ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ ภาวะคลอดก่อนกำหนดสูง ภาวะทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม และวัยรุ่นยังไม่พร้อมด้านจิตใจสำหรับการเป็นแม่เมื่อไม่พร้อมในการเป็นแม่จึงฝากบุตรไว้กับญาติหรือผู้ดูแลเด็ก โดยการให้กินนมผสม ซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจตามมานอกจากนี้การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นยังก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจและสังคมอีกด้วยคือการต้องหยุดหรือออกจากการศึกษา ไม่มีงานทำ ค่ารักษาพยาบาลขณะตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการเลี้ยงดูบุตร ปัญหาเหล่านี้ ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของทั้งแม่วัยรุ่นและบุตรที่เกิดมา ผลกระทบทั้งด้านสุขภาพ ทั้งกาย จิต การศึกษาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทั้งต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัวและสังคมไทยในภาพรวม ซึ่งก็ยังเป็นปัญหาที่เชี่อมโยงและส่งผลต่อสุขภาพแม่และเด็ก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านนางอ จึงได้จัดทำโครงการขึ้น คาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การดำเนินงานตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จะช่วยให้หน่วยงานภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีทิศทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งครอบคลุมถึงการสร้างกลไกการขับเคลื่อนงานแบบบูรณาการ การพัฒนาคุณภาพงานบริการสาธารณสุข และงานบริการด้านสังคม การพัฒนาคุณภาพสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย และการมีส่วนร่วมของชุมชนและครอบครัว มุ่งเน้นให้เกิดผลลัพธ์และเป้าหมายเดียวกันที่จะพัฒนาและสร้างทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพอย่างเข้มแข็งและยั่งยืน พร้อมส่งต่อพลเมืองคุณภาพให้กับประเทศไทยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด
- .เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 5 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้และสามารถดูแลสุขภาพได้อย่างเหมาะสม 2.หญิงตั้งครรภ์คลอดอย่างปลอดภัย และลูกเกิดรอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด ตัวชี้วัด : ร้อยละการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ฝากครรภ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ60 -ร้อยละโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ ไม่เกินร้อยละ14 |
60.00 |
|
||
2 | .เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน ตัวชี้วัด : ร้อยละของทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 -ร้อยละของเด็กแรกเกิดถึงต่ำกว่า 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่าร้อยละ50 -ร้อยละของเด็ก0-5 ปี สูงดีสมส่วน ไม่น้อยกว่าร้อยละ64 -ร้อยละของเด็ก0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ90 -ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุ ไม่เกินร้อยละ48 |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 5 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 25 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตัวเองขณะตั้งครรภ์ได้รับการดูแลที่เหมาะสม ตลอดจนมีสุขภาพที่ดีขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด (2) .เพื่อส่งเสริมให้ทารกแรกเกิด-5 ปีมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสม มีพัฒนาการสมวัยตามเกณฑ์ และได้รับการดูแลสุขภาพฟัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตำบลมหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 2568 – L1494 - 02 - 09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางโสพิน ทองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......