กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวทิพย์พาพร อับดุลลี ตำแหน่ง ประธานอสม. ชุมชนกุโบร์




ชื่อโครงการ โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-09 เลขที่ข้อตกลง 23/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสภาพสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปจากอดีตไปมาก บ้านเรือนมีเพิ่มมากขึ้นและอยู่กันอย่างหนาแน่น รวมถึงสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ล้วนเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อมากขึ้น ได้แก่ โรคไข้เลือดออก โรคมือเท้าปาก โรคฉี่หนูและโรคอื่นๆอิกมากมาย โรคไข้เลือดออก เป็นโรคติดต่อหนึ่งที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปีและพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุด ได้แก่ กลุ่มเด็กนักเรียนที่มีอายุตั้งแต่ 5-14 ปี รองลงมาคือ เด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วย จากสถานการณ์ดรคไข้เลือดออก ของศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ปี 2566 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 50 ราย ปี 2567 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 35 ราย ดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่ออื่นๆ จำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ในการกำจัดยุงลาย/ยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค และให้ความรู้ รณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออก และร่วมมือกันในการควบคุมป้องกันโรคที่ยั่งยืน ในพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จำนวน 6 ชุมชน เพื่อให้เด็กและเยาวชน ตลอดจนประชาชน ในพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อ

ดังนั้นทางชุมชนกุโบร์ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อป้องกันการเกิดโรคและลดอัตราการป่วยในพื้นที่ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวม เพื่อให้การจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อม เอื้อต่อการมีสุขภาพดีของประชาชนให้เกิดการปฏิบัติในระดับครัวเรือนอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะของคนในชุมชน ขึ้น เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการสุขาภิบาลที่พักอาศัยการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมขั้นพื้นฐานในครัวเรือน ส่งเสริมให้ประชาชนร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมทั้งภายในบ้านและบริเวณบ้านโดยรอบ ให้ถูกต้องและเหมาะสม ตามหลักสุขาภิบาล จากข้อมูลการควบคุมโรค มีผู้ป่วยกระจายอยู่ทั้ง 6 ชุมชนในเขตรับผิดชอบ ซึ่งโรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ป้องกันได้โดยการ “ป้องกันไม่ให้ยุงเกิด ไม่ให้ยุงกัด” ทางชุมชนกุโบร์จึงจัดโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัด
  2. 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
  3. 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day)
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
  4. 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา
  5. 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน
  6. อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  7. สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้ป่วยลดลง
  2. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อในชุมชนลดลง ร้อยละ 10
10.00

 

2 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน
ตัวชี้วัด : 2.ค่า HI ≤ ๑๐ (น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10)
100.00

 

3 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3. อสม.ร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรคการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัด (2) 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อในชุมชน (3) 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1  กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง (4) 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์  ในเขตเทศบาลนครสงขลา (5) 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน (6) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (7) สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนปลอดภัย ห่างไกลโรคไข้เลือดออก ชุมชนกุโบร์ ศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวทิพย์พาพร อับดุลลี ตำแหน่ง ประธานอสม. ชุมชนกุโบร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด