กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568 ”
ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกรรณิกา โวหาร




ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5292-02-02 เลขที่ข้อตกลง 05/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5292-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งบุหลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดมาแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสมเพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต
ข้อมูล ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ.2567 ในตำบลทุ่งบุหลังมีหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 15 คน มีภวาะซีด 2 คน เด็กแรกเกิด - 2 ปี จำนวน 74 คน พบทารกคลอดน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม จำนวน 3 คน มีภาวะอ้วน ผอม เตี้ย จำนวน 30 คน จากข้อมูลสถิติหญิงตั้งครรภ์ และเด็กแรกเกิด - 2 ปี จำแนกรายปี ดังนี้
(ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งบุหลัง) ตารางที่ 1 แสดงภาวะสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ตำบลทุ่งบุหลัง ปีงบประมาณ 2564 – 2566 ปีงบประมาณ หญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน อายุ 12 สัปดาห์ ซีดขณะ ตั้งครรภ์ คลอดก่อนกำหนด ตั้งครรภ์อายุ>20ปี 2564 26 23 3 3 3 2565 29 23 5 4 1 2566 25 15 5 2 3 ตารางที่ 2 แสดงภาวะสุขภาพเด็กแรกเกิด – 2 ปี ตำบลทุ่งบุหลัง ปีงบประมาณ 2564 – 2566 ปีงบประมาณ เด็กแรกเกิด – 2 ปี ทารกคลอดน้ำหนัก
≤ 2,500 กรัม ภาวะทุพโภชนาการ (อ้วน,ผอม,เตี้ย) พัฒนาการสงสัยล่าช้า (ราย) 2564 59 3 22 21 2565 72 3 25 26 2566 74 4 30 28 จากการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ หากไม่ได้รับการแก้ไขปัญหา จะเกิดผลกระทบต่อมารดาและทารกในครรภ์ทางด้านสุขภาพ เช่น ทารกคลอดน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโภชนาการต่ำกว่าเกณฑ์ หญิงตั้งครรภ์คลอดก่อนกำหนด และยังเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายในครอบครัวเพิ่มมากขึ้น อาจเกิดปัญหาครอบครัวตามมาในระยะยาว ซึ่งในพื้นที่ตำบลทุ่งบุหลังได้มีการดำเนินการโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่วันที่ 1 สิงหาคม 2567 แล้วนั้น ซึ่งที่ผ่านมาได้มีการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ในการดูแล ส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายในโครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิต ได้แก่ กิจกรรมการค้นหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่วางแผนจะตั้งครรภ์ให้ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและยาโฟลิก 3 เดือนก่อนตั้งครรภ์, กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และเด็ก ได้รับการดูแลแบบองค์รวมจากทีมพัฒนาเด็กและครอบครัว, การดูแลหญิงตั้งครรภ์ให้ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพ, การทำกิจกรรมกลุ่มโรงเรียนพ่อแม่ จิตประภัสสรตั้งแต่นอนอยู่ในครรภ์ เพื่อเพิ่มความรอบรู้ในการสร้างลูกให้ฉลาดและอารมณ์ดี ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ รวมถึงกิจกรรมกระบวนการ กิน กอด เล่า ในเด็กแรกเกิด ถึง 2 ปี โดยการขับเคลื่อนกิจกรรมโครงการจากทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวตำบลทุ่งบุหลัง
    ข้อมูลข้างต้น กองทุนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง นำโดยคณะกรรมการทีมพัฒนาเด็กและครอบครัวตำบลทุ่งบุหลัง มีการประชุมเพื่อร่วมวิเคราะห์สภาพปัญหา และสรุปปัญหาที่สำคัญและควรเร่งแก้ไขคือในเรื่องการป้องกันทารกคลอดน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม เพราะหากทารกคลอดน้ำหนักน้อยจะส่งผลให้ทารกมีโอกาสเกิดความพิการ บางรายจะมีพัฒนาการล่าช้า ซึ่งทารกรายนั้นมีความพิการ ครอบครัวและภาครัฐต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อการฟื้นฟูสภาพร่างกายและดูแล รักษาต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 4 - 5 ปี จากผลการดำเนินการที่ผ่านมา การดูแลโภชนาการหญิงตั้งครรภ์อย่างเข้มข้น สนับสนุนนมจืด และไข่ (บางรายที่มีปัญหาโภชนาการและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จ่ายให้ตลอดการตั้งครรภ์จนคลอด) เพื่อป้องกันและเฝ้าระวังทารกคลอดน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม เป็นประโยชน์และสามารถแก้ไขปัญหาโภชนาการในแม่และเด็กได้จริงตามหลักฐานข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งข้อมูลผลการดำเนินงานจาก ระบบ HDC กระทรวงสาธารณสุข ในปีงบประมาณ 2565 อัตราทารกคลอดน้ำหนัก ≤ 2,500 กรัม ร้อยละ 14.81 และในปีงบประมาณ 2566 ร้อยละ 10.53 และในส่วนของกิจกรรมต่อเนื่องการฝึกทักษะการเลี้ยงดูเด็กปฐมวัยให้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็ก ก็มีความสำคัญและควรเร่งมือในการทำงานร่วมกันแบบบูรณาการ เพื่อการดูแลเด็กปฐมวัยที่ครอบคลุมและต่อเนื่อง
      กองทุนมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จึงมีแนวคิดในการจัดทำโครงการมหัศจรรย์1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568 เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งของภาคีเครือข่าย ที่เกี่ยวข้องในการช่วยกันแก้ไขปัญหาและเฝ้าระวังเรื่องโภชนาการ ของหญิงตั้งครรภ์และเด็กที่กำลังจะลืมตาดูโลก กระตุ้นและส่งเสริมให้ครอบครัวตะหนักถึงความสำคัญของการเอาใจใส่ดูแลสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัยรวมทั้งการสร้างความผูกพันระหว่างเด็ก ครอบครัวและชุมชน เพราะเด็กปฐมวัยกลุ่มนี้ คืออนาคตของชุมชน และประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อสนับสนุนนมจืดและไข่ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมให้ทารกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม 3. เพื่อให้เกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพมารดาและเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    8.1 ป้องกันและลดอัตราการคลอดทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม 8.2 เสริมแรงและสร้างความรอบรู้และร่วมมือของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัวในการแก้ไขปัญหาโภชนาการ 8.3 เพิ่มทางเลือกให้แก่ผู้ปกครอง/ผู้ดูแลเด็กปฐมวัยให้มีทักษะในการส่งเสริมพัฒนาการและความฉลาดทางอารมณ์ของเด็กปฐมวัยอย่างเหมาะสม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อสนับสนุนนมจืดและไข่ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมให้ทารกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม 3. เพื่อให้เกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพมารดาและเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับนมจืดและไข่ ร้อยละ 100 2. จำนวนทารกกลุ่มเป้าหมาย คลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ไม่เกินร้อยละ 7 หรือลดลงจากเดิมร้อยละ 10 ขึ้นไป 3. ร้อยละ 80 หญิงตั้งครรภ์และบุคคลในครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ และมีทักษะในการจัดอาหารเพื่อบริโภคตามหลักโภชนาการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 20
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 5
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสนับสนุนนมจืดและไข่ให้แก่หญิงตั้งครรภ์ 2. เพื่อเฝ้าระวังแก้ไขปัญหาโภชนาการในหญิงตั้งครรภ์ ส่งเสริมให้ทารกคลอดน้ำหนักมากกว่า 2,500 กรัม 3. เพื่อให้เกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพมารดาและเด็ก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันแรกของชีวิตตำบลทุ่งบุหลัง หนูน้อยอัจฉริยะและแสนดี ปี 2568 จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 68-L5292-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวกรรณิกา โวหาร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด