กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางวิรารัตน์ นิลสวัสดิ์ ตำแหน่ง หัวหน้างานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนและศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง




ชื่อโครงการ โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-15 เลขที่ข้อตกลง 44/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 110,550.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เยาวชน คืออนาคตของชาติ ตามที่รัฐบาลมีนโยบายสร้างหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้คนไทยทุกคนมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดี กลยุทธ์หนึ่งในการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าอย่างยั่งยืน คือการเริ่มต้นการพัฒนาจาก “คน” ซึ่งถือเป็นการบริหารทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญ การพัฒนาแนวคิดด้านสุขภาพอนามัย ในกลุ่มนักเรียนและเยาวชน ที่อาศัยความสัมพันธ์เชิงสร้างสรรค์ระหว่างนักเรียนกับครอบครัว ชุมชน สถาบัน ศาสนา โรงเรียน และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ จึงเป็นการเริ่มต้นที่ดี ในการสร้างสุขภาพอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน รวมถึงแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ในกลุ่มวัยรุ่น ซึ่งจากสถิติ ในปี ๒๕63 พบว่า อัตราการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในวัยรุ่นเพศหญิงอายุ ๑5-๑๙ ปีมีแนวโน้มลดลง ของประเทศไทย พบ 28.7 คนต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน (สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์,๒๕63) และอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ ของหญิงอายุ ๑5-๑๙ ปี พบ 7.8 ต่อประชากร 1000คน ของจังหวัดสงขลาปี 2562-2565 พบ 17.67 16.89 15.78 และ 17.91 คนต่อประชากร ๑,๐๐๐ คน (สำนักศูนย์อนามัยที่ 12 ยะลา,2563) ในส่วนของอำเภอเมือง พบอัตราการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น มีอัตราสูงถึงร้อยละ 19.44, 16.50 18.64, และ ๑5.69 ตามลำดับ (ปีงบประมาณ ๒๕62 - ๒๕65) ซึ่งมีแนวโน้มลดลงทุกปี ดังนั้น การสร้างความรอบรู้การใฝ่รู้และสร้างความตระหนักแก่เด็กวัยเรียนและเยาวชนแกนนำ ในเรื่องการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม จึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยในการพัฒนาสุขภาพเด็กนักเรียนและผู้เกี่ยวข้อง เกิดความตระหนักและร่วมมือกันของทุกภาคส่วนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขเช่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การควบคุมเฝ้าระวังโรคติดต่อ ซึ่งจะทำให้ทุกคนในโรงเรียนรวมทั้งสมาชิกในชุมชนใกล้เคียงได้รับความรู้ความเข้าใจ เป็นการปลูกฝังทัศนคติและสร้างเสริมทักษะที่ก่อให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและยั่งยืนต่อไป
ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง ร่วมกับศูนย์สุขภาพชุมชนกุโบร์รวมใจ ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขและศูนย์บริการสาธารณสุขของเทศบาลนครสงขลาทั้ง2แห่ง ซึ่งรับผิดชอบทั้งหมด ๑8 โรงเรียน มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น ๒5,482 คน เป็นนักเรียนระดับอนุบาล 3,946 คน ระดับประถม ๑๐,730 คน และระดับมัธยม ๑๐,788 คน หน่วยงานด้านสาธารณสุขให้ความสำคัญในการสร้างแกนนำด้านสุขภาพสำหรับนักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนเพื่อเป็นแกนนำส่งเสริมสุขภาพ ด้วยการจัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพผู้นำนักเรียนให้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ ดูแลสุขภาพตนเองได้เหมาะสม ติดตามพฤติกรรมสุขภาพของนักเรียน ตลอดจนดำเนินการจัดทำมุมสุขภาพ สื่อสารความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องผ่านสื่อดิจิทัลที่มีคุณภาพ พัฒนาคลินิกวัยใส ในโรงเรียน และเพื่อให้ผู้นำนักเรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการเป็นแกนนำสุขภาพจัดกิจกรรมต่างๆในโรงเรียน เช่น กิจกรรมการพัฒนาสิ่งแวดล้อม กิจกรรมเฝ้าระวังสุขภาพพฤติกรรมความเสี่ยง กิจกรรมแก้ปัญหาสุขภาพกาย จิตใจ และเฝ้าระวังสุขภาพ จัดคลินิกให้คำปรึกษา ป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น นักเรียนและเยาวชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ใช้ชีวิตประจำวัน กับครอบครัว และชุมชน ได้อย่างเหมาะสม อยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา
  2. 2.เพื่อให้ผู้นำนักเรียน มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้
  3. 3.เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน และติดตามการดำเนินงานโครงการ
  2. กิจกรรมที่ ๒ อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ
  3. กิจกรรมที่ ๓ อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน
  4. กิจกรรมที่ ๔ ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น”
  5. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม
  6. อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ วันที่ 1
  7. อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน วันที่ 1
  8. อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน วันที่ 2
  9. ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น”
  10. อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ วันที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพสามารถดำเนินงานด้านสุขภาพพัฒนาโรงเรียนให้มีการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๒. โรงเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ๓. โรงเรียนมีการดำเนินงานคลินิกวัยเพื่อนใจวัยรุ่น อย่างต่อเนื่อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา
ตัวชี้วัด : 1.โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายทุกโรงเรียนส่งนักเรียนเข้าร่วมการอบรมจนครบหลักสูตร
100.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้นำนักเรียน มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด : 2.ผู้นำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพมีความรู้และทักษะในเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
80.00

 

3 3.เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 3.มีแกนนำเครือข่าย “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” เพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๑ เครือข่ายและมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 240
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 240
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างแกนนำนักเรียนส่งเสริมสุขภาพในระดับประถม และระดับมัธยมศึกษา (2) 2.เพื่อให้ผู้นำนักเรียน มีความรู้ทักษะด้านการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคและคำปรึกษาในการจัดการปัญหาเบื้องต้นได้ (3) 3.เพื่อให้เกิดการดำเนินงาน “คลินิกเพื่อนใจวัยรุ่น” ในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑ ประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงาน และติดตามการดำเนินงานโครงการ (2) กิจกรรมที่ ๒ อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ (3) กิจกรรมที่ ๓ อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน (4) กิจกรรมที่ ๔ ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น” (5) ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม (6) อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ วันที่ 1 (7) อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน วันที่ 1 (8) อบรมผู้นำเยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน วันที่ 2 (9) ติดตามการดำเนินงาน “คลินิก เพื่อนใจวัยรุ่น” (10) อบรมอาสาสมัครนักเรียนส่งเสริมสุขภาพ วันที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้นำเยาวชนยุคใหม่ ร่วมใจสร้างเครือข่ายสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ L7250-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวิรารัตน์ นิลสวัสดิ์ ตำแหน่ง หัวหน้างานเวชปฏิบัติครอบครัวและชุมชนและศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด