กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางมารานี ดาโอะ




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-l3057-5-1 เลขที่ข้อตกลง 7/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-l3057-5-1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,004.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสเดงกีซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรค โดยเฉพาะในฤดูฝนจะพบการระบาดบ่อยครั้ง หากไม่ได้รับการป้องกันอย่างมีประสิทธิภาพอาจนำไปสู่การเจ็บป่วยรุนแรงหรือถึงแก่ชีวิตได้ ตำบลปะเสยะวอมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการแพร่พันธุ์ของยุงลาย เช่น แหล่งน้ำขังในภาชนะรอบบ้าน โรงเรียน และสถานที่ราชการ จึงจำเป็นต้องมีการรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชน พร้อมทั้งดำเนินการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างจริงจัง

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี        ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้างบางราย อาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักจะระบาดช่วงหน้าฝนเพราะสาเหตุพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัยในสวย ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่ง พบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอง แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด โดยกระทรวงสาธารณสุขแจ้งว่า สถานการณ์โรคติดต่อนำโดยยุงลายในปี 2568 พบผู้ป่วยเป็นจำนวนมากโดยข้อมูลจากการรายงานเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา (506) กองระบาดวิทยา ณ วันที่ 1 มกราคม 2568  ถึง 5 เมษายน 2568 มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจังหวัดปัตตานี จำนวน 37.50 รายต่อแสน ยังไม่พบอัตราการเสียชีวิต สัปดาห์ที่ และอัตราผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ในระยะ 4 สัปดาห์ที่ผ่านมา สัปดาห์ 11-14 วันที่ 9 มีนาคม -5 เมษายน 2568 จำนวน 35 ราย พบผู้ป่วยในตำบลปะเสยะวอ เมื่อวันที่ 1-15 กุมภาพันธ์ 2568 จำนวน 1 ราย หมู่ที่ 6 และเมื่อ 16 – 28 มีนาคม 2568 จำนวน 1 ราย ได้แก่ หมู่ที่ 2 บ้านบน ตำบลปะเสยะวอ และมีแนวโน้มที่จะเกิดการแพร่ระบาดอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอ จึงขอเสนอโครงการโครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกตำบลปะเสยะวอ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนฯ        เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ จึงต้องมีการป้องกันโดยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย โดยสร้างความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญ ก่อเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง เพื่อนำไปสู่การป้องกันโรคไข้เลือดออกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1 เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  2. 1.2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
  3. 1.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1. ประชาชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 7.2. ประชาชนสามารถกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 7.3 ประชาชนสามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างรวดเร็วและยั่งยืน เพื่อมิให้มีการแพร่ระบาดในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1 เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1.1 ประชาชนในพื้นที่สามารถจัดการสิ่งแวดล้อมไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเพิ่มขึ้น
80.00

 

2 1.2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย
ตัวชี้วัด : 1.2 ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองน้ำ ร้อยละ 70 ของการลงสำรวจแต่ละหลังคาเรือน
70.00

 

3 1.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 340
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1 เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณบ้านไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (2) 1.2 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย (3) 1.3 เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาชนและกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและฉีดพ่นหมอกควันป้องกันลูกน้ำยุงลายภายในเขตตำบล ปะเสยะวอ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-l3057-5-1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารานี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด