โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสูบายด๊ะ ดูสิ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-1-09 เลขที่ข้อตกลง 10/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4153-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกกลุ่มวัยและกระทบกันเป็นลูกโซ่ตลอดช่วงชีวิต โดยเฉพาะในเด็กจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย พัฒนาการสมอง ระดับสติปัญญา หรือทารกพิการแต่กำเนิด สำหรับหญิงวัยเจริญพัธุ์ หญิงตั้งครรภ์มีผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ การทำงาน และส่งผลต่อการตั้งครรภ์ในอนาคต โดยข้อมูลจาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ณ 16 เม.ย.67 พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 30.8 ซึ่งยังไม่บรรลุค่าเป้าหมาย Global Nutrition Targets สำหรับเด็กอายุครบ 12 เดือน และเด็กอายุครบ 5 ปี มีภาวะโลหิตจาง พบร้อยละ 20.82 และ 16.98 ตามลำดับ และในเขตสุขภาพที่ 12 นั้น พบปัญหาภาวะโลหิตจางอย่างต่อเนื่อง ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยที่พบบ่อยที่สุดคือ โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กที่อยู่ในรูปแร่ธาตุซึ่งเป็นส่วนประกอบในเซลล์ต่างๆของร่างกาย อาหารที่พบธาตุเหล็กมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์เนื้อแดง เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ นอกจากนี้ ยังพบธาตุเห,้กได้ในผักใบเขียวและธีญพืช สำหรับมาตรการเสริมธาตุเหล็กตามชุดสิทธิประโยชน์ของไทย ยังพบความครอบคลุมต่ำไม่บรรลุค่าเป้าหมาย โดยเด็กอายุ 6 เดือน - 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 70.63 (เป้าหมายร้อยละ 80) กลุ่มเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เพียงร้อยละ 26 อีกทั้งเกือบ 1 ใน 2 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์มีภาวะโลหิตจาง (ร้อยละ 47.7) ปัจจุบันกรมอนามัยขับเคลื่อนร่วมกับ สปสช. เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิก ในรายการ Fee schedule และร่วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยขับเคลื่อนผ่านสถานประกอบการสาวไทยแก้มแดง 250 ห่ง รวมทั้งยังต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้และระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สถานการณ์แม่และเด็กตำบลกายูบอเกาะพบว่า หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางครั้งแรก ร้อยละ 8.69 ภาวะโลหิตจางในการเจาะเลือดครั้งที่ 2 ร้อยละ 13.04 และภาวะโลหิตจางใกล้คลอดร้อยละ 17.39 ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดไม่เกินร้อยละ 14 มีผลทำให้มารดามีภาวะโลหิตจาง ส่งผลต่อการคลอดบุตร น้ำหนักน้อย การคัดกรองพัฒนาการร้อยละ 94.16 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 95 ทำให้เด็กไม่รับการตรวจส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยช้า ไม่สมวัย ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และป้องกันถึงทารกในครรภ์ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม จึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้
- 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตร
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- เจาะเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมติตามเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โดยอสม./แม่อาสา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ สามารถดูแลตนเองและบุตรได้
2.หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์พบภาวะโลหิตจางเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 5
3.ฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
4.หญิงตั้งครรภ์ตระหนักและเห็นความสำคัญในการฝากครรภ์คลอดการดูแลหลังคลอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้
ตัวชี้วัด : 1.อัตราหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองร้อยละ 80
2
2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง
ตัวชี้วัด : 2.ภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์เพิ่มจากเดิมร้อยละ 5
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
70
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้ (2) 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตร (2) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) เจาะเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (4) กิจกรรมติตามเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โดยอสม./แม่อาสา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสูบายด๊ะ ดูสิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสูบายด๊ะ ดูสิ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-1-09 เลขที่ข้อตกลง 10/2567
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4153-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูบอเกาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกกลุ่มวัยและกระทบกันเป็นลูกโซ่ตลอดช่วงชีวิต โดยเฉพาะในเด็กจะส่งผลต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย พัฒนาการสมอง ระดับสติปัญญา หรือทารกพิการแต่กำเนิด สำหรับหญิงวัยเจริญพัธุ์ หญิงตั้งครรภ์มีผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ การทำงาน และส่งผลต่อการตั้งครรภ์ในอนาคต โดยข้อมูลจาก Health Data Center กระทรวงสาธารณสุข ณ 16 เม.ย.67 พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 30.8 ซึ่งยังไม่บรรลุค่าเป้าหมาย Global Nutrition Targets สำหรับเด็กอายุครบ 12 เดือน และเด็กอายุครบ 5 ปี มีภาวะโลหิตจาง พบร้อยละ 20.82 และ 16.98 ตามลำดับ และในเขตสุขภาพที่ 12 นั้น พบปัญหาภาวะโลหิตจางอย่างต่อเนื่อง ภาวะโลหิตจางเกิดได้จากหลายสาเหตุ โดยที่พบบ่อยที่สุดคือ โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กที่อยู่ในรูปแร่ธาตุซึ่งเป็นส่วนประกอบในเซลล์ต่างๆของร่างกาย อาหารที่พบธาตุเหล็กมาก ได้แก่ เนื้อสัตว์เนื้อแดง เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ นอกจากนี้ ยังพบธาตุเห,้กได้ในผักใบเขียวและธีญพืช สำหรับมาตรการเสริมธาตุเหล็กตามชุดสิทธิประโยชน์ของไทย ยังพบความครอบคลุมต่ำไม่บรรลุค่าเป้าหมาย โดยเด็กอายุ 6 เดือน - 5 ปี ได้รับยาน้ำเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 70.63 (เป้าหมายร้อยละ 80) กลุ่มเด็กอายุ 6-12 ปี ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก เพียงร้อยละ 26 อีกทั้งเกือบ 1 ใน 2 ของหญิงวัยเจริญพันธุ์มีภาวะโลหิตจาง (ร้อยละ 47.7) ปัจจุบันกรมอนามัยขับเคลื่อนร่วมกับ สปสช. เพิ่มช่องทางการเข้าถึงบริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิก ในรายการ Fee schedule และร่วมกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน โดยขับเคลื่อนผ่านสถานประกอบการสาวไทยแก้มแดง 250 ห่ง รวมทั้งยังต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้และระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางอย่างต่อเนื่อง เพื่อเป็นแนวทางการดำเนินงานและป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก สถานการณ์แม่และเด็กตำบลกายูบอเกาะพบว่า หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางครั้งแรก ร้อยละ 8.69 ภาวะโลหิตจางในการเจาะเลือดครั้งที่ 2 ร้อยละ 13.04 และภาวะโลหิตจางใกล้คลอดร้อยละ 17.39 ซึ่งเกินเกณฑ์ที่กำหนดไม่เกินร้อยละ 14 มีผลทำให้มารดามีภาวะโลหิตจาง ส่งผลต่อการคลอดบุตร น้ำหนักน้อย การคัดกรองพัฒนาการร้อยละ 94.16 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดร้อยละ 95 ทำให้เด็กไม่รับการตรวจส่งผลต่อพัฒนาการลูกน้อยช้า ไม่สมวัย ดังนั้นเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และป้องกันถึงทารกในครรภ์ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม จึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง)
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้
- 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตร
- 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้
- เจาะเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์
- กิจกรรมติตามเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โดยอสม./แม่อาสา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์มีความรู้ สามารถดูแลตนเองและบุตรได้ 2.หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์พบภาวะโลหิตจางเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 5 3.ฝากครรภ์ก่อนอายุ 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ 4.หญิงตั้งครรภ์ตระหนักและเห็นความสำคัญในการฝากครรภ์คลอดการดูแลหลังคลอด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้ ตัวชี้วัด : 1.อัตราหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองร้อยละ 80 |
|
|||
2 | 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง ตัวชี้วัด : 2.ภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์เพิ่มจากเดิมร้อยละ 5 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 70 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตรได้ (2) 2.เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธุ์ไม่พบภาวะโลหิตจาง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและบุตร (2) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) เจาะเลือดหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (4) กิจกรรมติตามเยี่ยมเยียนหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจาง โดยอสม./แม่อาสา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมและป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์และหญิงตั้งครรภ์ (ชาวกายูแก้มแดง) จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4153-1-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสูบายด๊ะ ดูสิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......