โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 ”
ตำบลถนน
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมา สะมะแอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถนน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลถนน จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 22 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลถนน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถนน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลถนน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 22 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถนน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug Use) ไว้ คือ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม และค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด "Patients receive medications appropriate to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements ,for an adequate period of time, and at the lowest cost to the and their community " (WHO ,1985) ซึ่งสอดคล้องกับคำจำกัดความตามคู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ : 2552 ที่ขยายความว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล หมายถึง การใช้ยา โดยมีข้อบ่งชี้เป็นยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ ให้ประโยชน์ทางคลินิก เหนือกว่าความเสี่ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ไม่เป็นการใช้ยาอย่างซ้ำซ้อน คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา เป็นการใช้ยาในกรอบบัญชียายังผลอย่างเป็นขั้นตอนตามแนววางพิจารณาการใช้ยา โดยใช้ยาในขนาดที่พอเหมาะกับผู้รับบริการในแต่ละกรณีด้วยวิธีการให้ยาและความถี่ในการใช้ยาที่ถูกต้องตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผู้รับบริการให้การยอมรับและสามารถใช้ยาดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถให้เบิกจ่ายยานั้นได้อย่างยั่งยืน เป็นการใช้ยาที่ไม่เลือกปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับบริการทุกคนสามารถใช้ยานั้นได้อย่างเท่าเทียมกันและไม่ถูกปฏิเสธยาที่สมควรได้รับ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจาการศึกษาต่างๆ แสดงว่า ยังมีการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลในอัตราที่สูงอาจถึงครึ่งหนึ่งของการใช้ยาทั้งหมด โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียตามมาทั้งในระดับ บุคคลผู้ใช้ยา ทำให้เกิดปัญหาต่อประสิทธิผลของการรักษา และปัญหาจากความคลาดเคลื่อนหรือผลข้างเคียงของยา ไปจนถึงสังคมโดยรวม เช่น การเกิดแนวคิดว่าเมื่อเจ็บป่วยแล้วจะต้องกินยา(one pill for every ill ) ทำให้ความต้องการในการใช้ยาเพิ่มมากขึ้นโดยไม่จำเป็น หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เช่น การเกิดปัญหาเชื้อโรคดื้อยา (antimicrodial resistance) มากขึ้น จากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เป็นไปตามข้อบ่งชี้ ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น และนำไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ แม้การส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในประเทศไทยจะได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มมีนโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ.2524 แต่ก็ยังไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ควร จึงเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องปรับการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และควรได้รับการยกสถานะเป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งในเวลาต่อมานโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ.2554 ได้มีการบรรจุให้การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเป็นยุทธศาสตร์ ด้านที่ 2 ของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ.2555-2559 ยุทธศาสตร์ด้านที่ 2 การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนให้เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ถูกต้อง และคุ้มค่า โดยได้กำหนดยุทธศาสตร์ย่อยไว้ 7 ประการ ได้แก่ 1.การพัฒนาระบบ และกลไกลการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 2.การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 3.การพัฒนากลไกและเครื่องมือเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 4.การสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 5.การส่งเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ 6.การพัฒนาระบบและกลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการดื้อยาของเชื้อโรค 7.การส่งเสริมจริยธรรมผู้สั่งใช้ยา และยุติการส่งเสริมการขายที่ขาดจริยธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน คือ ฉบับที่ 13 พ.ศ.2566-2570 ได้มีการกำหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าท้ายต่างๆ เพื่อให้ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยอาศัยหลักการและแนวคิด 4 ประการ ดังนี้ 1.หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.การสร้างความสามารถในการ ล้มแล้ว ลุกไว 3.เป้าหมายการพัฒนาอย่างยังยืนของสหประชาชาติ 4.การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมันเวียน เศรษฐกิจสีเขียว โดยแผนกลยุทธ์รายหมุนหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล RDU โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านถนน เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug Use: RDU) ในชุมชน รพสต.บ้านถนน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ขึ้นเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลถนนในการให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชน โดยการจัดอบรมเพิ่มทักษะและความรู้เรื่องยาปฎิชีวนะ ยาชุดและ ยาสเตียรอยด์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย
7.2 ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชน โดยการจัดอบรมเพิ่มทักษะและความรู้เรื่องยาปฎิชีวนะ ยาชุดและ ยาสเตียรอยด์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปัทมา สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 ”
ตำบลถนน
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปัทมา สะมะแอ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลถนน จังหวัด
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 08/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2568 ถึง 22 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลถนน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถนน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลถนน รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2568 - 22 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ถนน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
องค์การอนามัยโลกให้คำจำกัดความของ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug Use) ไว้ คือ ผู้ป่วยได้รับยาที่เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพ โดยใช้ยาในขนาดที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม และค่าใช้จ่ายต่อชุมชนและผู้ป่วยน้อยที่สุด "Patients receive medications appropriate to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements ,for an adequate period of time, and at the lowest cost to the and their community " (WHO ,1985) ซึ่งสอดคล้องกับคำจำกัดความตามคู่มือการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล ตามบัญชียาหลักแห่งชาติ : 2552 ที่ขยายความว่า การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล หมายถึง การใช้ยา โดยมีข้อบ่งชี้เป็นยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุนด้วยหลักฐานที่เชื่อถือได้ ให้ประโยชน์ทางคลินิก เหนือกว่าความเสี่ยงจากการใช้ยาอย่างชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุ้มค่าตามหลักเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข ไม่เป็นการใช้ยาอย่างซ้ำซ้อน คำนึงถึงปัญหาเชื้อดื้อยา เป็นการใช้ยาในกรอบบัญชียายังผลอย่างเป็นขั้นตอนตามแนววางพิจารณาการใช้ยา โดยใช้ยาในขนาดที่พอเหมาะกับผู้รับบริการในแต่ละกรณีด้วยวิธีการให้ยาและความถี่ในการใช้ยาที่ถูกต้องตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก ด้วยระยะเวลาการรักษาที่เหมาะสม ผู้รับบริการให้การยอมรับและสามารถใช้ยาดังกล่าวได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง กองทุนในระบบประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถให้เบิกจ่ายยานั้นได้อย่างยั่งยืน เป็นการใช้ยาที่ไม่เลือกปฏิบัติเพื่อให้ผู้รับบริการทุกคนสามารถใช้ยานั้นได้อย่างเท่าเทียมกันและไม่ถูกปฏิเสธยาที่สมควรได้รับ อย่างไรก็ตาม ข้อมูลจาการศึกษาต่างๆ แสดงว่า ยังมีการใช้ยาอย่างไม่สมเหตุสมผลในอัตราที่สูงอาจถึงครึ่งหนึ่งของการใช้ยาทั้งหมด โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา ซึ่งนำไปสู่การสูญเสียตามมาทั้งในระดับ บุคคลผู้ใช้ยา ทำให้เกิดปัญหาต่อประสิทธิผลของการรักษา และปัญหาจากความคลาดเคลื่อนหรือผลข้างเคียงของยา ไปจนถึงสังคมโดยรวม เช่น การเกิดแนวคิดว่าเมื่อเจ็บป่วยแล้วจะต้องกินยา(one pill for every ill ) ทำให้ความต้องการในการใช้ยาเพิ่มมากขึ้นโดยไม่จำเป็น หรือผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในระยะยาว เช่น การเกิดปัญหาเชื้อโรคดื้อยา (antimicrodial resistance) มากขึ้น จากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่เป็นไปตามข้อบ่งชี้ ทำให้ผู้ป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลนานขึ้น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น และนำไปสู่ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ แม้การส่งเสริมให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลในประเทศไทยจะได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เริ่มมีนโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ.2524 แต่ก็ยังไม่เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ควร จึงเป็นความจำเป็นเร่งด่วนของประเทศที่ต้องปรับการดำเนินการให้เหมาะสมยิ่งขึ้น และควรได้รับการยกสถานะเป็นวาระแห่งชาติ ซึ่งในเวลาต่อมานโยบายแห่งชาติด้านยา พ.ศ.2554 ได้มีการบรรจุให้การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผลเป็นยุทธศาสตร์ ด้านที่ 2 ของยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ.2555-2559 ยุทธศาสตร์ด้านที่ 2 การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาของแพทย์บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนให้เป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ถูกต้อง และคุ้มค่า โดยได้กำหนดยุทธศาสตร์ย่อยไว้ 7 ประการ ได้แก่ 1.การพัฒนาระบบ และกลไกลการกำกับดูแลเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 2.การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพ 3.การพัฒนากลไกและเครื่องมือเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 4.การสร้างความเข้มแข็งภาคประชาชนด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล 5.การส่งเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ 6.การพัฒนาระบบและกลไกป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้ยาต้านจุลชีพ และการดื้อยาของเชื้อโรค 7.การส่งเสริมจริยธรรมผู้สั่งใช้ยา และยุติการส่งเสริมการขายที่ขาดจริยธรรม แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน คือ ฉบับที่ 13 พ.ศ.2566-2570 ได้มีการกำหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าท้ายต่างๆ เพื่อให้ ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยอาศัยหลักการและแนวคิด 4 ประการ ดังนี้ 1.หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2.การสร้างความสามารถในการ ล้มแล้ว ลุกไว 3.เป้าหมายการพัฒนาอย่างยังยืนของสหประชาชาติ 4.การพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมันเวียน เศรษฐกิจสีเขียว โดยแผนกลยุทธ์รายหมุนหมายที่ 4 ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และสุขภาพมูลค่าสูง เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล RDU โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านถนน เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (Rational Drug Use: RDU) ในชุมชน รพสต.บ้านถนน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ขึ้นเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลถนนในการให้คนในชุมชนมีการพัฒนาการจัดการเรื่องยาให้สมเหตุสมผลและปลอดภัยในระยะยาวต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชน โดยการจัดอบรมเพิ่มทักษะและความรู้เรื่องยาปฎิชีวนะ ยาชุดและ ยาสเตียรอยด์
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
7.1 ประชาชนมีความรู้และความเข้าใจในการใช้ยาอย่างปลอดภัย 7.2 ประชาชนลดการใช้ยาสเตียรอยด์ ยาชุดและยาปฎิชีวนะโดยไม่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พัฒนาศักยภาพการใช้ยาในชุมชน โดยการจัดอบรมเพิ่มทักษะและความรู้เรื่องยาปฎิชีวนะ ยาชุดและ ยาสเตียรอยด์
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปัทมา สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......