โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ”
ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุรพร จันทร์แก้ว
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน
ที่อยู่ ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5218-3-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5218-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ การเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสมอง อย่างเหมาะสม การดูแลจัดการ อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็ก รวมถึงภาวะการเจริญเติบโต เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน ผอม/เตี้ย เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความจำเป็นมากในปัจจุบัน เพื่อเป็นการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต โดยมีแนวคิดให้เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดีและมีคุณภาพในการดำรงชีวิตประจำวัน
อ้างถึงหน้งสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0821.4/ว 776 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 เรื่องขอความอนุเคราะห์ร่วมขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้รูปแบบ “พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพ แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน” โดยผสาน 3 สารอาหารสำคัญ ลดภาวะซีดและไอโอดีน เพื่อเด็กปฐมวัยไทย สูงดีสมส่วนฉลาดสมวัย และห่างไกล NCDs ในอนาคต ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 66 และ 67 (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16(10) และมาตรา 17(27) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส ซึ่งสอดคล้องกับการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องด้านกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนในการนี้กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ขึ้น เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่างเหมาะสมตามวัย อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการเจริญเติบโตอย่างเหมาะสมตามวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย)
- 2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงทุก 3 เดือน
- เด็กน้ำหนักเกิน/อ้วน หรือเด็กน้ำหนักน้อย เตี้ย ผอม ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอมได้รับการดูแล
- ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็d
- ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดี
มาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูก
70.00
2
2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดี
มาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูก
70.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
40
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) (2) 2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5218-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุรพร จันทร์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ”
ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายสุรพร จันทร์แก้ว
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5218-3-01 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแดน อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5218-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองแดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กเป็นวัยที่มีความสำคัญต่อครอบครัวและประเทศชาติ สิ่งสำคัญในการเสริมสร้างให้เด็กมีคุณภาพ คือ การเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาในด้านต่าง ๆ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสมอง อย่างเหมาะสม การดูแลจัดการ อาหารและโภชนาการในช่วงวัยทารกและเด็กเล็ก รวมถึงภาวะการเจริญเติบโต เป็นพื้นฐานสำคัญของการมีสุขภาพและสติปัญญาที่ดีในระยะยาว และยังมีความสำคัญมากต่อการป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น โรคเบาหวาน โรคอ้วน ผอม/เตี้ย เป็นต้น การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยก่อนเรียนจึงมีความจำเป็นมากในปัจจุบัน เพื่อเป็นการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการในด้านต่าง ๆ ของเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต โดยมีแนวคิดให้เด็กอายุ 2-5 ปี ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลด้านโภชนาการและการเจริญเติบโตอย่างสม่ำเสมอ เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดีและมีคุณภาพในการดำรงชีวิตประจำวัน อ้างถึงหน้งสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด่วนที่สุด ที่ มท 0821.4/ว 776 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 เรื่องขอความอนุเคราะห์ร่วมขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี ภายใต้รูปแบบ “พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพ แก้ไขปัญหาเตี้ย ผอม อ้วน” โดยผสาน 3 สารอาหารสำคัญ ลดภาวะซีดและไอโอดีน เพื่อเด็กปฐมวัยไทย สูงดีสมส่วนฉลาดสมวัย และห่างไกล NCDs ในอนาคต ประกอบกับอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. ๒๕๓๗ แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 66 และ 67 (5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 มาตรา 16(10) และมาตรา 17(27) กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ในการสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชราและผู้ด้อยโอกาส ซึ่งสอดคล้องกับการจัดบริการสาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อการเสริมสร้างสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ ให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เกี่ยวข้องด้านกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนในการนี้กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลคลองแดน ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน ขึ้น เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโต และแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาการที่เหมาะสมตามช่วงวัย เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาอย่างเหมาะสมตามวัย อันเป็นพื้นฐานสำคัญของการเจริญเติบโตอย่างเหมาะสมตามวัยต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย)
- 2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กปฐมวัยในศูนย์ได้รับการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงทุก 3 เดือน
- เด็กน้ำหนักเกิน/อ้วน หรือเด็กน้ำหนักน้อย เตี้ย ผอม ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอมได้รับการดูแล
- ครู ผู้ดูแลเด็ก ผู้ปกครอง และผู้ประกอบอาหารกลางวันได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็d
- ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กเพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดี มาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูก |
70.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กโดยมีหนูน้อยสุขภาพดี มาเป็นต้นแบบในการเลี้ยงดูลูก |
70.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 20 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เด็กปฐมวัยเติบโตเต็มวัย ลดภาวะทุพโภชนาการ (ผอม/เตี้ย) (2) 2. เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองหันมาสนใจในการดูแลสุขภาพเด็กปฐมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการการส่งเสริมโภชนาการและการเจริญเติบโตในเด็กเล็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พลัง 3 สร้าง สร้างเด็กปฐมวัยไทยคุณภาพเพื่อขับเคลื่อนการจัดการและแก้ไขปัญหาภาวะเตี้ย ผอม อ้วน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L5218-3-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุรพร จันทร์แก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......