กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ของหมู่ที่ 8 ซึ่งพบว่า ตั้งแต่ มกราคม - มีนาคม 2560 มีผู้ป่วยไข้เลือดออก 6 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 562.32 ต่อแสนประชากร ซึ่งนับว่าเป็นอัตราป่วยที่สูงที่สุดในตำบลควนขนุน อีกทั้งยังพบผู้ป่วยซ้ำในช่วง 28 วัน (Secondary case) ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาที่ทีมระบาดต้องแก้ไขและดำเนินงานเชิงรุกอย่างเข้มแข็ง ทั้งการเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก โดยจัดประชุมแกนนำครอบครัว ให้ช่วยกันสอดส่องดูแลเพื่อลดการแพร่กระจาย การส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก และการรณรงค์ สำรวจ และกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทุกสัปดาห์ พร้อมกับรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง ผลจากการติดตาม พบว่า -ผู้เข้าร่วมประชุม ให้ความสนใจในกิจกรรมและพยายามหาแนวทางการแก้ปัญหา -มีการรณรงค์ 3 เดือน/ครั้ง พบว่า สามารถลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายลงได้ -ไม่มีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมาเลย ตั้งแต่ มีนาคม - กันยายน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

2 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

3 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 288
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 268
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อลดจำนวนและอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (2) 2.เพื่อเผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกให้บุคคล ครอบครัว ชุมชน ให้มีศักยภาพในการช่วยกันดูแลและลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก (3) 3.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจและตระหนักในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh