โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสุกอด ยี่มะเหร็บ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู
เมษายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2561 ถึง 12 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2561 - 12 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของสังคมไทยในปัจจุบันเด็กและเยาวชนเหล่านี้ในอนาคตจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นผู้นำครอบครัวเป็นผู้นำชุมชนเป็นผู้นำประเทศแต่ในสภาพปัจจุบันเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่มักจะติดยาเสพติด มั่วสุมอบายมุขท้องก่อนวันอันควร ฯลฯดังนั้นเด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ทรงคุณค่าจำเป็นที่จะต้องได้รับความรู้พัฒนาทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพพัฒนาการทางด้านอารมณ์สังคมและจิตใจและมีความเข้าใจเรื่่องสิ่งแวดล้อมสร้างเเกระป้องกันให้กับตัวเองเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมและใช้ชีวิตอย่างมีความสุขไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขและสิ่งเสพติดดำเนินชีวิตตามหลักคำสอนของศาสนาเป็นคนดีของศาสนาเป็นคนดีของสังคมอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุขเป็นผู้นำและประชาชนในอนาคตที่มีคุณภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
- เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ
- กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม
- เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1เด็กและเยาวชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการสร้างกระบวนการเรียนรู้นำความรู้ที่ได้มาสร้างเกราะป้องกันตนเองในเรื่่องการสร้างเสริมสุขภาพโดยไม่พึ่งยาเสพติดและอบายมุข
2นำความรู้จากการเข้าค่ายมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันเป็นผู้นำที่ดีในอนาคตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและใช้ชีวิตตามหลักคำสอนของศาสนา
3นำความรู้ที่ได้ปรับใช้ในเรื่องของอารมณ์จิตใจ สังคม และเข้าใจในเรืองสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ
วันที่ 21 เมษายน 2560กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมเข้าค่ายเยาวชนเรียนรู้เรื่องศาสนา นำแนวทางคำสอนและหลักปฏิบัติทางศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เด็กและเยาวชนมีความสนใจ ให้ความร่วมมือ ให้การสนับสนุนกิจกรรมเป็นอย่างดี มีนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ต่อไป
80
0
2. เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
วันที่ 22 เมษายน 2560กิจกรรมที่ทำ
กิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพ การปฏิบัติตนเกี่ยวกับสุขภาพ กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี ได้รับความรู้จากวิทยากรสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ต่อไป
80
0
3. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม
วันที่ 23 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
จัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ สุขภาพด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวันต่อไป
80
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กและเยาวชนมีความรู้ในเรื่องสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้เรื่องเพศสัมพันธุ์และโรคติดต่อ รวมถึงยาเสพติด มีทักษะในการปฏิเสธเมื่อมีผู้อื่นชักชวนไปในทางที่ไม่ดี สามารถนำความรู้และทักษะต่างๆไปใช้ได้จริงในการดำรงค์ชีวิตประจำวันให้เหมาะสมตามวัย อยู่ในสังคมอย่างปลอดภัยและมีความสุข
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ
ตัวชี้วัด : - เด็กและเยาวชนให้ความสนใจ 85 %
- เด็กได้รับความรู้นำไปปฏิบัติในเรื่องสร้างเสริมสุขภาพรักษ์สิ่่งแวดล้อมประเมินได้ 80 %
0.00
2
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจเรื่่องการนำความรู้เป็นเกราะป้องกันในเรื่องยาเสพติด การติดเกมส์ และใช้ชีวิตตามหลักศาสนา ใช้ชีวิตในชุมชนอย่างมีความสุข
0.00
3
เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ประเมินจากร้านเกมส์ในชุมชนเด็กลดลงจากเดิม 50%
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
80
82
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
80
82
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (3) เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ (2) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม (3) เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุกอด ยี่มะเหร็บ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน ”
ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสุกอด ยี่มะเหร็บ
เมษายน 2561
ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-06 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 เมษายน 2561 ถึง 12 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 61-L5313-2-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 เมษายน 2561 - 12 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าของสังคมไทยในปัจจุบันเด็กและเยาวชนเหล่านี้ในอนาคตจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่เป็นผู้นำครอบครัวเป็นผู้นำชุมชนเป็นผู้นำประเทศแต่ในสภาพปัจจุบันเด็กและเยาวชนส่วนใหญ่มักจะติดยาเสพติด มั่วสุมอบายมุขท้องก่อนวันอันควร ฯลฯดังนั้นเด็กและเยาวชนเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ทรงคุณค่าจำเป็นที่จะต้องได้รับความรู้พัฒนาทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพพัฒนาการทางด้านอารมณ์สังคมและจิตใจและมีความเข้าใจเรื่่องสิ่งแวดล้อมสร้างเเกระป้องกันให้กับตัวเองเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคมและใช้ชีวิตอย่างมีความสุขไม่ยุ่งเกี่ยวกับอบายมุขและสิ่งเสพติดดำเนินชีวิตตามหลักคำสอนของศาสนาเป็นคนดีของศาสนาเป็นคนดีของสังคมอยู่ได้ในสังคมอย่างมีความสุขเป็นผู้นำและประชาชนในอนาคตที่มีคุณภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม
- เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ
- กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม
- เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1เด็กและเยาวชนมีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการสร้างกระบวนการเรียนรู้นำความรู้ที่ได้มาสร้างเกราะป้องกันตนเองในเรื่่องการสร้างเสริมสุขภาพโดยไม่พึ่งยาเสพติดและอบายมุข 2นำความรู้จากการเข้าค่ายมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันเป็นผู้นำที่ดีในอนาคตและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขและใช้ชีวิตตามหลักคำสอนของศาสนา 3นำความรู้ที่ได้ปรับใช้ในเรื่องของอารมณ์จิตใจ สังคม และเข้าใจในเรืองสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ |
||
วันที่ 21 เมษายน 2560กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมเข้าค่ายเยาวชนเรียนรู้เรื่องศาสนา นำแนวทางคำสอนและหลักปฏิบัติทางศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเด็กและเยาวชนมีความสนใจ ให้ความร่วมมือ ให้การสนับสนุนกิจกรรมเป็นอย่างดี มีนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ต่อไป
|
80 | 0 |
2. เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน |
||
วันที่ 22 เมษายน 2560กิจกรรมที่ทำกิจกรรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพ การปฏิบัติตนเกี่ยวกับสุขภาพ กิจกรรมกลุ่มแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ ร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี ได้รับความรู้จากวิทยากรสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ต่อไป
|
80 | 0 |
3. กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม |
||
วันที่ 23 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำจัดกิจกรรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ สุขภาพด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวันต่อไป
|
80 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
เด็กและเยาวชนมีความรู้ในเรื่องสุขภาพด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้เรื่องเพศสัมพันธุ์และโรคติดต่อ รวมถึงยาเสพติด มีทักษะในการปฏิเสธเมื่อมีผู้อื่นชักชวนไปในทางที่ไม่ดี สามารถนำความรู้และทักษะต่างๆไปใช้ได้จริงในการดำรงค์ชีวิตประจำวันให้เหมาะสมตามวัย อยู่ในสังคมอย่างปลอดภัยและมีความสุข
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ ตัวชี้วัด : - เด็กและเยาวชนให้ความสนใจ 85 % - เด็กได้รับความรู้นำไปปฏิบัติในเรื่องสร้างเสริมสุขภาพรักษ์สิ่่งแวดล้อมประเมินได้ 80 % |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนสามารถเข้าใจเรื่่องการนำความรู้เป็นเกราะป้องกันในเรื่องยาเสพติด การติดเกมส์ และใช้ชีวิตตามหลักศาสนา ใช้ชีวิตในชุมชนอย่างมีความสุข |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ ตัวชี้วัด : ประเมินจากร้านเกมส์ในชุมชนเด็กลดลงจากเดิม 50% |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 80 | 82 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | 82 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมองค์ความรู้เป็นเกราะป้องกันยาเสพติด ลดปัญหาการตั้งครรภ์ก่อยวัยอันควร และอบายมุขสิ่งยั่วยุต่างๆ (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ ติดอาวุธของปัญญา อารมณ์ จิตใจ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม (3) เพื่อส่งเสริมด้านสุขภาพ ด้านอารมณ์ จิตใจ สังคม รักษ์สิ่งแวดล้อมพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ปรับตัวเข้ากับสังคมและอยู่อย่างมีคามสุขในสังคมเป็นบุคคลที่ดีมีคุณภาพ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเข้าค่ายเรียนรู้เรื่องศาสนาและการปฏิบัติ (2) กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพด้าน อารมณ์ จิตใจ สังคม (3) เข้าค่ายอบรมสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสร้างเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 61-L5313-2-06
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุกอด ยี่มะเหร็บ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......