กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561 ”
ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านเกาะเคี่ยม




ชื่อโครงการ ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561

ที่อยู่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2561-L1460-002-0010 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตังใต้ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2561-L1460-002-0010 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กันตังใต้ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญ ทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศสาเหตุเนื่องมาจากสังคมมีการขยายตัวสูงตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น การบริโภคก็เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย และสิ่งที่ตามมาเลี่ยงไม่ได้คือขยะ มีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จากข้อมูลสถานการณ์ขยะมูลฝอยที่ผ่านมาพบว่า แนวโน้มของปริมาณขยะมูลฝอยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกปี ในปี พ.ศ.๒๕๕๙ พบว่ามีปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว ในปีนี้ปริมาณขยะ ๒๗.๐๖ ล้านตันซึ่งคิดเป็นอัตตราการเกิดขยะมูลฝอยที่ ๑.๑๔ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน (กรมควมคุมมลพิษ,๒๕๖๐)ปัญหามีความรุนแรงมากขึ้น ขยะมีประมาณเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ ซึ่งแน่นอนว่าขยะยิ้งเยอะก็ไม่สามารถกำจัดขยะได้หมดสิ้ ทำให้ส่งกลิ่นเน้าเหม็นรบกวน จนเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื่อโรคต่าง ๆ ซึ่งในแต่ละวันคนเรามีโอกาสได้รับผลกระทบต่อด้านสุขภาพตั้งแต่อาการเล็กน้อยจนสะสมในระยะยาวจนเป็นโรคที่อันตรายได้ โดยโรคที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มักจะเกิดขึ้นกับผู้ที่อาศัยอยู่โดยรอบชุมชน พนักงานเก็บขยะ หรือคนรับซื้อของเก่า ซึ่งโรคที่เกิดขึ้นเช่น โรคะบบทางเดินอาหาร โรคภูมิแพ้ เป็นต้น แต่ในปัจจุบันผู้คนส่วนมากไม่เห็นความสำคัญถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น ละเลยและไม่เห็นคุณค่าของขยะ การลดปริมาณขยะด้วยการนำเอาขยะที่สามารถใช้งานได้ไปหมุนเวียนเพื่่อสร้างประโยชน์อีกครั้ง และยังช้วยลดโรคภัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากขยะและยังส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมอีกดวย ในพื้นที่บ้านเกาะเคี่ยมโดยเฉลี่ยพบขยะ ๕ ชิ้นต่อตารางเมตร มีการทิ้งขยะไม่เป็นที่ ไม่มีระบบการจัดการขยะในร้านค้า และอีกทั้งยังมีแพะที่ชอบเขี่ยขยะจากถังขยะอีกด้วย การให้ความรู้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนในชุมชน ในการคัดแยกขยะที่ถูกต้อง นำขยะไปใช้ประโยชน์อย่างอื่นต่อ เป็นกลวิธีอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญที่จะทำให้เกิดจิตใต้สำนึกในการคัดแยกขยะ ถ้ทุกคนไม่ละเลยอาจจะทำให้ปัญหาขยะในชุมชนบ้านเกาะเคี่ยมหมดปัย ดังนั้นจึงได้มีการจัดโครงการชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะ รู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม เพื่อที่จะทำให้ประชาชนได้มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ ปัญหาโรคและผลกระทบที่เกิดจากขยะ ตลอดจนวิธีการลดปริมาณขยะ การคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ การกำจัดขยะอย่างถูกวิธี เพื่อลดปริมาณขยะในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ วิธีลดปริมาณขยะ วิธีคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจัดขยะประเภทต่าง ๆ อย่างถูกวิธี ตลอดจนทราบถึงโรคและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะ
  3. เพื่อให้ประชาชนมีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการจัดการขยะ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    มีการจัดการขยะตามหลัก ๕ Rs ขยะในชุมชนลดปริมาณลงมีเครือข่ายในการเฝ้าระวังในการจัดการขยะที่ยั้งยืน ประชาชนเห็นคุณค่าของขยะและนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติใช้ในชีวิตประจำวัน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ วิธีลดปริมาณขยะ วิธีคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจัดขยะประเภทต่าง ๆ อย่างถูกวิธี ตลอดจนทราบถึงโรคและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ วิธีการลดปริมาณขยะ วิธีคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจักขยะประเภทต่าง ๆ อย่างถูกวิธี ตลอดจนทราบถึงโรคและผลกระทบที่เกิดจากขยะ
    0.00

     

    2 เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะ
    0.00

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการจัดการขยะ
    ตัวชี้วัด : มีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการจัดการขยะ ตามกลุ่มโซน
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 25
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชน มีความรู้เกี่ยวกับขยะประเภทต่าง ๆ วิธีลดปริมาณขยะ วิธีคัดแยก การนำกลับมาใช้ใหม่ วิธีการกำจัดขยะประเภทต่าง ๆ อย่างถูกวิธี ตลอดจนทราบถึงโรคและผลกระทบที่เกิดจากขยะ (2) เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนักในการจัดการขยะ (3) เพื่อให้ประชาชนมีเครือข่ายในการเฝ้าระวังการจัดการขยะ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ชาวเกาะเคี่ยมร่วมใจจัดการขยะรู้คุณค่า รักษาสิ่งแวดล้อม ปี 2561 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2561-L1460-002-0010

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ประธานคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านเกาะเคี่ยม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด