โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง
มิถุนายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากและฟันในเด็กควรเริ่มตั้งแต่ฟันของเด็กเริ่มงอกโดยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ 2 ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็กที่ฟันน้ำนมผุจะมีโอกาสเกิดฟันผุมากกว่าคนทั่วไปเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ แสดงว่าการรักษาความสะอาดฟันน้ำนมของลูกนั้นสำคัญ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของพ่อแม่และผู้ปกครองมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กซึ่งเด็กเล็กในวัย 3-5 ปี ไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้โดยสมบูรณ์ ต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนจากพ่อแม่และผู้ปกครอง บุคคลกลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กถ้าผู้ปกครองมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง จะส่งผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กซึ่งในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่สงเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ปี 2560 ได้รับการตรวจช่องปาก 287 คน ไม่พบฟันผุ 96 คน คิดเป็นร้อยละ 33 พบฟันผุ 191 คน คิดเป็นร้อยละ 67 แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้่ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองของเด็กในช่วง 0-3 ปี เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลทันตสุขภาพเด็กอย่างครอบคลุมในกลุ่มเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก
- ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน
- 2.ตรวจช่องปากเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กในช่วงอายุ 0-3 ปี สามารถรับรู้ภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้
- เด็กช่วงอายุ 0-3 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
2.ประชุมตัวแทนแกนนำ อสม.ในการดำเนินงาน
4.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการทำงาน
5.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
6.ประชาสัมพันธ์โครงการ
7.ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้แก่ผู้ปกครองทราบในการร่วมกิจกรรม
8.ดำเนินการตามกิจกรรม
9.สรุปผลการดำเนินงานรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.จัดอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก จำนวน 50 คน
1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้จากการทดสอบแบบประเมินความรู้ก่อน - หลัง พบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้น
- มีความรู้ในระดับดี ร้อยละ 86 ( จำนวน 43 คน )
- มีความรู้ในระดับปานกลาง ร้อยละ 12 ( จำนวน 6 คน )
- มีความรู้ในระดับต่ำ ร้อยละ 2 ( จำนวน 1คน )
1.2ผู้ปกครองที่ได้รับการอบรมได้ทำแบบประเมินก่อน - หลัง จำนวน 50 คน
60
0
2. 2.ตรวจช่องปากเด็ก
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ
2.ประชุมตัวแทนแกนนำ อสม.ในการดำเนินงาน
4.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการทำงาน
5.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
6.ประชาสัมพันธ์โครงการ
7.ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้แก่ผู้ปกครองทราบในการร่วมกิจกรรม
8.ดำเนินการตามกิจกรรม
9.สรุปผลการดำเนินงานรายงานผล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
1.ให้บริการตรวจช่องปากเด็กอายุ 0- 3 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน
- ไม่มีรอยโรคฟันผุ จำนวน 43 คน คิดเป็นร้อย 86
- พบรอยโรคฟันผุ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อย 14
2.จัดกิจกรรมฝึกทักษะการแปรงฟันในเด็กให้แก่ผู้ปกครอง จำนวน 50 คน
3.ให้บริการทาฟลูออไรด์วานิชให้แก่เด็กช่วงอายุ 0-3 ปี จำนวน 50 คนๆละ 2 ครั้ง โดยทาฟลูออไรด์วานิช
ครั้งที่ 1 เดือนตุลาคม 2560
ครั้งที่ 2 เดือน มีนาคม 2561
( แต่ละช่วงสามารถห่างกันได้ 4- 6 ตามความเสี่ยงการเกิดโรค )
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก
0.00
2
ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กช่วงอายุ 0-3 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 2 ครั้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
50
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก (2) ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน (2) 2.ตรวจช่องปากเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก ”
ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง
มิถุนายน 2561
ที่อยู่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-5 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 มิถุนายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5273-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 มิถุนายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฉลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากและฟันในเด็กควรเริ่มตั้งแต่ฟันของเด็กเริ่มงอกโดยโรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรกการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่สำคัญในช่วงนี้ได้แก่การควบคุมอาหารหวานและการแปรงฟันด้วยยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ วันละ 2 ครั้ง ควบคู่ไปกับมาตรการป้องกันโรคฟันผุอื่น ๆในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เช่น การใช้สารฟลูออไรด์ชนิดทา ร่วมกับการตรวจคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงต่อฟันผุ และการให้ทันตสุขศึกษา ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่า เด็กที่ฟันน้ำนมผุจะมีโอกาสเกิดฟันผุมากกว่าคนทั่วไปเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ แสดงว่าการรักษาความสะอาดฟันน้ำนมของลูกนั้นสำคัญ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าพฤติกรรมของพ่อแม่และผู้ปกครองมีผลต่อการเกิดโรคฟันผุในเด็กซึ่งเด็กเล็กในวัย 3-5 ปี ไม่สามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้โดยสมบูรณ์ ต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนจากพ่อแม่และผู้ปกครอง บุคคลกลุ่มนี้มีบทบาทสำคัญการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กถ้าผู้ปกครองมีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากที่ไม่ถูกต้อง จะส่งผลต่อสุขภาพช่องปากของเด็กซึ่งในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่สงเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ปี 2560 ได้รับการตรวจช่องปาก 287 คน ไม่พบฟันผุ 96 คน คิดเป็นร้อยละ 33 พบฟันผุ 191 คน คิดเป็นร้อยละ 67 แนวทางที่เหมาะสมสำหรับเด็กกลุ่มนี้่ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดโรคฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานทันตสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ได้เล็งเห็นความสำคัญและจัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกระตุ้นให้ผู้ปกครองของเด็กในช่วง 0-3 ปี เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลทันตสุขภาพเด็กอย่างครอบคลุมในกลุ่มเป้าหมาย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก
- ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน
- 2.ตรวจช่องปากเด็ก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ปกครองเด็กในช่วงอายุ 0-3 ปี สามารถรับรู้ภาวะเสี่ยงในการเกิดโรคฟันผุในเด็กเล็กได้
- เด็กช่วงอายุ 0-3 ปี ได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 2.ประชุมตัวแทนแกนนำ อสม.ในการดำเนินงาน 4.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการทำงาน 5.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 6.ประชาสัมพันธ์โครงการ 7.ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้แก่ผู้ปกครองทราบในการร่วมกิจกรรม 8.ดำเนินการตามกิจกรรม 9.สรุปผลการดำเนินงานรายงานผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.จัดอบรมให้ความรู้ด้านทันตสุขภาพเพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก จำนวน 50 คน
1.1กิจกรรมอบรมให้ความรู้จากการทดสอบแบบประเมินความรู้ก่อน - หลัง พบว่ามีความรู้เพิ่มขึ้น
|
60 | 0 |
2. 2.ตรวจช่องปากเด็ก |
||
วันที่ 15 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.เขียนโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณ 2.ประชุมตัวแทนแกนนำ อสม.ในการดำเนินงาน 4.จัดทำแผนปฏิบัติการและกำหนดขั้นตอนการทำงาน 5.สำรวจกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 6.ประชาสัมพันธ์โครงการ 7.ประชุมชี้แจงรายละเอียดกิจกรรมให้แก่ผู้ปกครองทราบในการร่วมกิจกรรม 8.ดำเนินการตามกิจกรรม 9.สรุปผลการดำเนินงานรายงานผล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น1.ให้บริการตรวจช่องปากเด็กอายุ 0- 3 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก |
0.00 |
|
||
2 | ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free) ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 เด็กช่วงอายุ 0-3 ปี ที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการทาฟลูออไรด์วานิช จำนวน 2 ครั้ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 50 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้และเกิดความตระหนักในการดูแลช่องปากของเด็ก (2) ข้อ 2. เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดฟันผุในระยะเริ่มแรกของเด็กโดยปราศจากโรคฟันผุ (Caries free)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองในการดูแลช่องปากบุตรหลาน และสาธิตการแปรงฟันในเด็กเล็กโดยผ่านโมเดลฟัน (2) 2.ตรวจช่องปากเด็ก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้ปกครองทำได้ ลูกรักฟันดีเริ่มซีแรก จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5273-1-5
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......