โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤศจิกายน 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤศจิกายน 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าซึ่งในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคโดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ อีกทั้ง หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร จึงควรทำตั้งแต่เนิ่นๆ ที่สุด คือในวัยเด็กที่สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วเพื่อที่จะปลูกฝังให้เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดไป ไม่ว่าเด็กจะเติบโตขึ้นเป็นเพียงผู้บริโภค หรือเป็นผู้ประกอบการผลิตอาหารเองด้วยในอนาคตก็ตาม การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร ความสะอาด รู้จักดูแล หยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้อง การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้นอกจากนี้กิจกรรมที่ อย.น้อย ทำ ได้แก่ การตรวจสอบอาหารที่จำหน่ายภายใน/รอบๆ โรงเรียน และตลาดสดหรือชุมชนใกล้เคียง ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว จุลินทรีย์ในน้ำ เป็นต้น การให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บอร์ดความรู้ เสียงตามสาย พูดหน้าเสาธง กิจกรรมการแสดง รายการทางโทรทัศน์วงจรปิด เป็นต้น การรณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น การเดินรณรงค์ การแจกเอกสารความรู้ การให้ความรู้ทางหอกระจายข่าวหรือวิทยุชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการความรู้ด้านอาหารและยาเข้าไปกับหลักสูตรการเรียนการสอน และอย.น้อย ยังเอื้ออาทรไปยังโรงเรียน ระดับประถมศึกษาที่อยู่ใกล้เคียง ด้วยการไปให้ความรู้และการตรวจสอบอาหารให้ด้วย ในลักษณะ “พี่สอนน้อง”ยังช่วยให้เพื่อนนักเรียน และครอบครัวมีความรู้ และเกิดการพัฒนา ปรับปรุงการจำหน่ายอาหารภายในโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ นักเรียน อย.น้อย ยังได้รับการพัฒนาเรื่องการคิด การวางแผนการทำงาน การแสดงออก และการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน อย.น้อย โรงเรียนอื่น ๆ ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายขึ้น
กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อมได้เล็งเห็นความสำคัญของเยาวชนและสอดคล้องกับภารกิจการถ่ายโอนอำนาจจาก อย. ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค ตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ จึงได้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่๑๐แห่งจำนวน๑๐๐คนเมื่อวันที่๑ธันวาคม๒๕๕๗ตั้งแต่เวลา๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐น.ณหอประชุมเทศบาลนครหาดใหญ่ซึ่งมีตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนในเขตเทศบาลเข้าร่วมอบรม จำนวน๑๐แห่งได้แก่โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดคลองเรียน)โรงเรียนธิดานุเคราะห์โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่ (แผนกพณิชยการ)โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่ (แผนกมัธยมศึกษา)โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคารโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษาโรงเรียนศรีนครและโรงเรียนสมานคุณวิทยาทานซึ่งในปัจจุบันแต่ละโรงเรียนดังกล่าวข้างต้นยังไม่มีการจัดตั้งชมรม อย.น้อยและการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนได้อย่างเป็นรูปธรรมเนื่องจาก อย.น้อยที่ผ่านการอบรมไปแล้วได้จบการศึกษาออกไปและการส่งเสริมการดำเนินงานของโรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน้อยจึงเห็นควรจัดการอบรม อย.น้อยพร้อมการจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียนขึ้นและดำเนินการสนับสนุนการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค
- เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
160
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ด้านปริมาณ
- นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อย่างน้อยจำนวน๑๐ แห่ง มีการจัดตั้งกลุ่ม อย.น้อยในโรงเรียนเพื่อดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน
2) ด้านคุณภาพ
- นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ที่มีการจัดตั้งกลุ่ม อย. น้อยในโรงเรียนขึ้นสามารถดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนด้วยวิธีการสุ่มตรวจสอบ วิเคราะห์อาหารในโรงเรียนเป็นระยะเวลาสม่ำเสมอ ตลอดปีการศึกษา มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่น ๆ ในโรงเรียน
- นักเรียน ครู พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดทำป้ายไวนิล
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สื่อประชาสัมพันธ์ในการจัดกิจกรรม
0
0
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน
วันที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เป็นวัสดุที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
0
0
3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน อย.น้อย และครูผู้ดูแลฯ
วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- นักเรียน อย.น้อย และครูผู้ดูแลฯ ได้ความรู้ในเรื่องการเลือกซื้อ เลือกใช้อย่างปลอดภัย ใส่ใจในการอ่านฉลากก่อนซื้อ
- เข้าใจถึงบทบาท อย.น้อย และรู้เท่าทันสื่อโฆษณา
- ได้รับความรู้ด่านยา ด้านเครื่องสำอาง ด้านอาหาร
160
160
4. จัดการประชุมสรุปผลการดำเนินงาน/ประกวดโครงงาน อย.น้อย
วันที่ 1 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สรุปผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน สำหรับ อย.น้อย ครูผู้ดูแลฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑) ได้จัดอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย (แกนนำนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา) และครูผู้ดูแลกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน ๑๖๐ คน จากโรงเรียน จำนวน ๑๗ แห่ง โดยแยกเป็น
• โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๐ แห่ง ได้แก่
- โรงเรียนสุวรรณวงศ์
- โรงเรียนวรพัฒน์
- โรงเรียนธิดานุเคราะห์
- โรงเรียนศรีสว่างวงศ์
- โรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ์
- โรงเรียนเทศบาล ๕ (หาดใหญ่ใน)
- โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน)
- โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)
- โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดคลองเรียน)
- โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)
• โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗ แห่ง ได้แก่
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
- โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ
- โรงเรียนพลวิทยา
- โรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ
- โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน
- โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
๒) การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม อย.น้อยในโรงเรียน อย่างน้อย ๑๐ แห่ง
โรงเรียนที่ได้ส่งนักเรียนแกนนำเข้าร่วมอบรม อย.น้อยในโรงเรียน จำนวน ๑๗ แห่ง ได้นำความรู้และแนวทางที่ได้จากการอบรมไปเผยแพร่ความรู้และขยายกลุ่มสมาชิกของชมรม โดยได้มีการจัดตั้งกลุ่ม/ชมรม อย.น้อยในโรงเรียน พร้อมกำหนดโครงสร้างชมรม และแผนการดำเนินงานของกลุ่ม/ชมรมเพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จำนวน ๑๐ แห่ง ได้แก่
- โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
- โรงเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)
- โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)
- โรงเรียนศรีสว่างวงศ์
- โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
- โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ
- โรงเรียนโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ
- โรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ์
๓) การสนับสนุนการจัดกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน ได้แก่
- กิจกรรมการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียนและรอบรั้วโรงเรียน จำนวน ๙ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา โรงเรียนเทศบาล ๑ - (เอ็งเสียงสามัคคี) โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์) โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ โรงเรียนเทศบาล ๕ (หาดใหญ่ใน) โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ และโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ<br />
- กิจกรรมบูรณาการสู่การเรียนการสอน
ภายหลังจากการอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย และครูผู้ดูแลฯ ในโรงเรียนไปนั้น ได้มีโรงเรียนที่นำงานคุ้มครองผู้บริโภคไปบูรณาการสู่การเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ และโรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร<br />
๔) ตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของกลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อย ๑ ครั้ง
ได้ลงตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานของ อย.น้อยในโรงเรียนภายหลังการอบรมจำนวน ๑๗ แห่ง แห่งละ ๑ ครั้ง เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีในการทำงานร่วมกันของเทศบาล และโรงเรียน พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดกลุ่ม/ชมรม อย.น้อยในโรงเรียน เพื่อดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนได้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม
๕) ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสรุปผลการดำเนินงาน/การนำเสนอผลงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อย.น้อย จำนวน ๑ ครั้ง จำนวน อย.น้อยเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๙๐ คน ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
160
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
160
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค (3) เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7258-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7258-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 พฤศจิกายน 2559 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7258-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 พฤศจิกายน 2559 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 66,310.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวัน จะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัย หากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่ง แต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทาน ทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่า อาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่าซึ่งในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคโดยนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหาร หรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไปเช่น บอแรกซ์ โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์ เป็นต้น รวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสม ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ อีกทั้ง หากผู้บริโภคขาดความรู้ ความเข้าใจ อย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหาร ก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อ หรือเก็บรักษาอาหารได้ถูกต้อง และไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้น การให้ความรู้เบื้องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหาร จึงควรทำตั้งแต่เนิ่นๆ ที่สุด คือในวัยเด็กที่สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วเพื่อที่จะปลูกฝังให้เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดไป ไม่ว่าเด็กจะเติบโตขึ้นเป็นเพียงผู้บริโภค หรือเป็นผู้ประกอบการผลิตอาหารเองด้วยในอนาคตก็ตาม การตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหาร ความสะอาด รู้จักดูแล หยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้อง การรู้จักปกป้องตนเอง รู้จักการเลือก สังเกต หรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารที่ไม่ปลอดภัย จึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้นอกจากนี้กิจกรรมที่ อย.น้อย ทำ ได้แก่ การตรวจสอบอาหารที่จำหน่ายภายใน/รอบๆ โรงเรียน และตลาดสดหรือชุมชนใกล้เคียง ด้วยชุดทดสอบเบื้องต้น เช่น ชุดทดสอบบอแรกซ์ ฟอร์มาลิน สารกันรา สารฟอกขาว จุลินทรีย์ในน้ำ เป็นต้น การให้ความรู้แก่เพื่อนนักเรียนในรูปแบบต่าง ๆ เช่น บอร์ดความรู้ เสียงตามสาย พูดหน้าเสาธง กิจกรรมการแสดง รายการทางโทรทัศน์วงจรปิด เป็นต้น การรณรงค์ให้ความรู้ในชุมชน เช่น การเดินรณรงค์ การแจกเอกสารความรู้ การให้ความรู้ทางหอกระจายข่าวหรือวิทยุชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีการบูรณาการความรู้ด้านอาหารและยาเข้าไปกับหลักสูตรการเรียนการสอน และอย.น้อย ยังเอื้ออาทรไปยังโรงเรียน ระดับประถมศึกษาที่อยู่ใกล้เคียง ด้วยการไปให้ความรู้และการตรวจสอบอาหารให้ด้วย ในลักษณะ “พี่สอนน้อง”ยังช่วยให้เพื่อนนักเรียน และครอบครัวมีความรู้ และเกิดการพัฒนา ปรับปรุงการจำหน่ายอาหารภายในโรงเรียน รวมทั้งการปรับปรุงสถานที่จำหน่ายอาหารให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ นักเรียน อย.น้อย ยังได้รับการพัฒนาเรื่องการคิด การวางแผนการทำงาน การแสดงออก และการสร้างสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อน อย.น้อย โรงเรียนอื่น ๆ ทำให้เกิดเป็นเครือข่ายขึ้น กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อมได้เล็งเห็นความสำคัญของเยาวชนและสอดคล้องกับภารกิจการถ่ายโอนอำนาจจาก อย. ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคในการเสริมสร้างศักยภาพผู้บริโภค ตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ จึงได้จัดการอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่๑๐แห่งจำนวน๑๐๐คนเมื่อวันที่๑ธันวาคม๒๕๕๗ตั้งแต่เวลา๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐น.ณหอประชุมเทศบาลนครหาดใหญ่ซึ่งมีตัวแทนนักเรียนจากโรงเรียนในเขตเทศบาลเข้าร่วมอบรม จำนวน๑๐แห่งได้แก่โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดคลองเรียน)โรงเรียนธิดานุเคราะห์โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่ (แผนกพณิชยการ)โรงเรียนพณิชยการหาดใหญ่ (แผนกมัธยมศึกษา)โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคารโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษาโรงเรียนศรีนครและโรงเรียนสมานคุณวิทยาทานซึ่งในปัจจุบันแต่ละโรงเรียนดังกล่าวข้างต้นยังไม่มีการจัดตั้งชมรม อย.น้อยและการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนได้อย่างเป็นรูปธรรมเนื่องจาก อย.น้อยที่ผ่านการอบรมไปแล้วได้จบการศึกษาออกไปและการส่งเสริมการดำเนินงานของโรงเรียนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องน้อยจึงเห็นควรจัดการอบรม อย.น้อยพร้อมการจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียนขึ้นและดำเนินการสนับสนุนการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนางานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนอย่างเป็นรูปธรรม
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง
- เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค
- เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 160 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ด้านปริมาณ - นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ อย่างน้อยจำนวน๑๐ แห่ง มีการจัดตั้งกลุ่ม อย.น้อยในโรงเรียนเพื่อดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน 2) ด้านคุณภาพ - นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ที่มีการจัดตั้งกลุ่ม อย. น้อยในโรงเรียนขึ้นสามารถดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนด้วยวิธีการสุ่มตรวจสอบ วิเคราะห์อาหารในโรงเรียนเป็นระยะเวลาสม่ำเสมอ ตลอดปีการศึกษา มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่น ๆ ในโรงเรียน - นักเรียน ครู พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่น ๆ ในโรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดทำป้ายไวนิล |
||
วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสื่อประชาสัมพันธ์ในการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
2. จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินงาน |
||
วันที่ 12 มิถุนายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเป็นวัสดุที่ใช้ในการจัดกิจกรรม
|
0 | 0 |
3. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียน อย.น้อย และครูผู้ดูแลฯ |
||
วันที่ 15 มิถุนายน 2560 เวลา 08:30 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
160 | 160 |
4. จัดการประชุมสรุปผลการดำเนินงาน/ประกวดโครงงาน อย.น้อย |
||
วันที่ 1 สิงหาคม 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสรุปผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน สำหรับ อย.น้อย ครูผู้ดูแลฯ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑) ได้จัดอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย (แกนนำนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา และมัธยมศึกษา) และครูผู้ดูแลกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จำนวน ๑๖๐ คน จากโรงเรียน จำนวน ๑๗ แห่ง โดยแยกเป็น • โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๐ แห่ง ได้แก่ - โรงเรียนสุวรรณวงศ์ - โรงเรียนวรพัฒน์ - โรงเรียนธิดานุเคราะห์ - โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ - โรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ์ - โรงเรียนเทศบาล ๕ (หาดใหญ่ใน) - โรงเรียนเทศบาล ๖ (อนุบาลในฝัน) - โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์) - โรงเรียนเทศบาล ๔ (วัดคลองเรียน) - โรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่) • โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน ๗ แห่ง ได้แก่ - โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย - โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา - โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ - โรงเรียนพลวิทยา - โรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ - โรงเรียนสมานคุณวิทยาทาน - โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
๒) การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม อย.น้อยในโรงเรียน อย่างน้อย ๑๐ แห่ง
โรงเรียนที่ได้ส่งนักเรียนแกนนำเข้าร่วมอบรม อย.น้อยในโรงเรียน จำนวน ๑๗ แห่ง ได้นำความรู้และแนวทางที่ได้จากการอบรมไปเผยแพร่ความรู้และขยายกลุ่มสมาชิกของชมรม โดยได้มีการจัดตั้งกลุ่ม/ชมรม อย.น้อยในโรงเรียน พร้อมกำหนดโครงสร้างชมรม และแผนการดำเนินงานของกลุ่ม/ชมรมเพื่อให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง จำนวน ๑๐ แห่ง ได้แก่
- โรงเรียนเทศบาล ๑ (เอ็งเสียงสามัคคี)
- โรงเรียนโรงเรียนเทศบาล ๒ (บ้านหาดใหญ่)
- โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)
- โรงเรียนศรีสว่างวงศ์
- โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย
- โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา
- โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ
- โรงเรียนโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ
- โรงเรียนบุญเลิศอนุสรณ์
๓) การสนับสนุนการจัดกิจกรรมคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียน ได้แก่
- กิจกรรมการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพในโรงเรียนและรอบรั้วโรงเรียน จำนวน ๙ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา โรงเรียนเทศบาล ๑ - (เอ็งเสียงสามัคคี) โรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์) โรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร โรงเรียนศรีนครมูลนิธิ โรงเรียนเทศบาล ๕ (หาดใหญ่ใน) โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ และโรงเรียนกอบกาญจน์ศึกษามูลนิธิ<br />
- กิจกรรมบูรณาการสู่การเรียนการสอน
ภายหลังจากการอบรมให้ความรู้แก่ อย.น้อย และครูผู้ดูแลฯ ในโรงเรียนไปนั้น ได้มีโรงเรียนที่นำงานคุ้มครองผู้บริโภคไปบูรณาการสู่การเรียนการสอนในวิชาต่าง ๆ จำนวน ๓ แห่ง ได้แก่ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัยสมบูรณ์กุลกันยา โรงเรียนศรีสว่างวงศ์ และโรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร<br />
๔) ตรวจเยี่ยม และประเมินผลการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคของกลุ่ม อย.น้อย ในโรงเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม อย่างน้อย ๑ ครั้ง
ได้ลงตรวจเยี่ยมติดตามผลการดำเนินงานของ อย.น้อยในโรงเรียนภายหลังการอบรมจำนวน ๑๗ แห่ง แห่งละ ๑ ครั้ง เพื่อสร้างสัมพันธ์อันดีในการทำงานร่วมกันของเทศบาล และโรงเรียน พร้อมทั้งสนับสนุนให้เกิดกลุ่ม/ชมรม อย.น้อยในโรงเรียน เพื่อดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในโรงเรียนได้อย่างต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม
๕) ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการตรวจเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสรุปผลการดำเนินงาน/การนำเสนอผลงานคุ้มครองผู้บริโภคของ อย.น้อย จำนวน ๑ ครั้ง จำนวน อย.น้อยเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน ๙๐ คน ณ ห้องประชุมโรงเรียนเทศบาล ๓ (โศภณพิทยาคุณานุสรณ์)
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 160 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 160 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภค ทั้งนี้เพื่อสุขภาพที่ดีต่อตัวผู้บริโภคเอง (2) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู อาจารย์ พ่อค้า แม่ค้า ผู้ปกครอง และบุคลากรอื่นในโรงเรียนและชุมชน ให้ตระหนักในความปลอดภัยในการบริโภค และการผลิตเครื่องอุปโภคบริโภคเพื่อสุขภาพผู้บริโภค (3) เพื่อเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ในการรณรงค์ ให้ความรู้ด้านการบริโภคสู่เพื่อนนักเรียน และบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาศักยภาพ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7258-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กลุ่มงานส่งเสริมสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......