โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ คงเทพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3321-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3321-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,070.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุขในระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันโดยตรงต่ออัตราการตาย และการป่วย โรคไข้เลือดออกจึงส่งผลต่อ สุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามลำดับ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อคและเสียชีวิตได้ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบบ่อยใน กลุ่มเด็กอายุระหว่างอายุ ๕-๙ ปี แต่ปัจจุบันสามารถพบผู้ป่วยได้ในทุกกลุ่มอายุ และโรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เรื่อยมา ซึ่งในแต่ละปีจะมีรายงานทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกที่มีข้อมูลเกิดโรคในอัตราการป่วยที่ยังคงสูง จากสถานการณ์ปัจจุบันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดพัทลุง พบว่ามีการระบาดอยู่ในอัตราที่สูง และคาดว่าจะมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจลูกน้ำยุงลาย
- ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. สำรวจลูกน้ำยุงลาย
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- จัดกิจกรรมรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายและกำจัดลูกน้ำยุงลาย
2.จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของประชาชนและการมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรค
- สำรวจลูกน้ำยุงลายโดย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
- สำรวจลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน วัด โรงเรียน และสถานบริการสาธารณสุข
งบประมาณ
- ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 200 ซอง ซองละ ๘ บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
- ค่าทรายอะเบท จำนวน 6 ถัง ถังละ 5,๐00 บาท เป็นเงิน 30,000บาท
- ค่ายาฉีดแมลง จำนวน 48 กระป๋อง กระป๋องละ 6๕ บาท เป็นเงิน 3,120 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
เปรียบเทียบอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3 ปี ย้อนหลัง
ปี 2558 จำนวนผู้ป่วย 13 ราย
คิดเป็น 209.68 ต่อแสนประชากร
ปี 2559 จำนวนผู้ป่วย 15 ราย
คิดเป็น 241.94 ต่อแสนประชากร
ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 9 ราย
คิดเป็น 146.22 ต่อแสนประชากร
ปี 2561 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย
คิดเป็น 48.74 ต่อแสนประชากร
2.ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
มีการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมให้สะอาดทั้งในหมู่บ้าน ในวัด และในโรงเรียนเป็นประจำสม่ำเสมอ มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์โดย อสม.
0
0
2. ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
1. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 28.77 บาท เป็นเงิน 575.40 บาท
2.. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 15 ลิตร ลิตรละ 37.25 บาท เป็นเงิน 558.75 บาท
3. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 25 ลิตร ลิตรละ 30.07 บาท เป็นเงิน 751.75 บาท
4. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 38.45 บาท เป็นเงิน 769 บาท
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
เปรียบเทียบอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3 ปี ย้อนหลัง
ปี 2558 จำนวนผู้ป่วย 13 ราย
คิดเป็น 209.68 ต่อแสนประชากร
ปี 2559 จำนวนผู้ป่วย 15 ราย
คิดเป็น 241.94 ต่อแสนประชากร
ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 9 ราย
คิดเป็น 146.22 ต่อแสนประชากร
ปี 2561 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย
คิดเป็น 48.74 ต่อแสนประชากร
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของโครงการ ผลลัพธ์
1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
ผลลัพธ์ เปรียบเทียบอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3 ปี ย้อนหลัง
ปี 2558 จำนวนผู้ป่วย 13 ราย
คิดเป็น 209.68 ต่อแสนประชากร
ปี 2559 จำนวนผู้ป่วย 15 ราย
คิดเป็น 241.94 ต่อแสนประชากร
ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 9 ราย
คิดเป็น 146.22 ต่อแสนประชากร
ปี 2561 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย
คิดเป็น 48.74 ต่อแสนประชากร
2. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ผลลัพธ์
มีการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมให้สะอาดทั้งในหมู่บ้าน
ในวัด และในโรงเรียนเป็นประจำสม่ำเสมอ มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์โดย อสม.
3.การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 39,070 บาท ดังนี้ งบประมาณจ่ายจริง
1. ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 200 ซอง ซองละ ๘ บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
2. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 28.77 บาท เป็นเงิน 575.40 บาท
3. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 15 ลิตร ลิตรละ 37.25 บาท เป็นเงิน 558.75 บาท
4. ค่าทรายอะเบท จำนวน 6 ถัง ถังละ 5,๐00 บาท เป็นเงิน 30,000บาท
5. ค่ายาฉีดแมลง จำนวน 48 กระป๋อง กระป๋องละ 6๕ บาท เป็นเงิน 3,120 บาท
6. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 25 ลิตร ลิตรละ 30.07 บาท เป็นเงิน 751.75 บาท
7. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 38.45 บาท เป็นเงิน 769 บาท
รวมเงิน 37,374.90 บาท (สามหมื่นเจ็ดพันสามร้อยเจ็ดสิบสี่บาทเก้าสิบสตางค์)
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 37,374.90 บาท คิดเป็นร้อยละ 95.66
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 1,695.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.34
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0)
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจลูกน้ำยุงลาย (2) ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3321-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางทัศนีย์ คงเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ”
ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ คงเทพ
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3321-1-4 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 61-L3321-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,070.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางการแพทย์และการสาธารณสุขในระดับประเทศ เนื่องจากความรุนแรงของโรคแปรผันโดยตรงต่ออัตราการตาย และการป่วย โรคไข้เลือดออกจึงส่งผลต่อ สุขภาพของผู้ป่วย ชุมชน สังคม และประเทศชาติตามลำดับ หากมีการตรวจวินิจฉัยขั้นต้นที่ไม่ถูกต้อง อาจทำให้ผู้ป่วยเข้าสู่ภาวะช็อคและเสียชีวิตได้ แต่เดิมระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกจะพบบ่อยใน กลุ่มเด็กอายุระหว่างอายุ ๕-๙ ปี แต่ปัจจุบันสามารถพบผู้ป่วยได้ในทุกกลุ่มอายุ และโรคไข้เลือดออกยังเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่เรื่อยมา ซึ่งในแต่ละปีจะมีรายงานทางระบาดวิทยาของโรคไข้เลือดออกที่มีข้อมูลเกิดโรคในอัตราการป่วยที่ยังคงสูง จากสถานการณ์ปัจจุบันการระบาดของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดพัทลุง พบว่ามีการระบาดอยู่ในอัตราที่สูง และคาดว่าจะมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น เพื่อเป็นการป้องกันและกำจัดลูกน้ำและตัวแก่ยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมไข้เลือดออกขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สำรวจลูกน้ำยุงลาย
- ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
- ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. สำรวจลูกน้ำยุงลาย |
||
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
0 | 0 |
2. ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค |
||
วันที่ 1 มกราคม 2561กิจกรรมที่ทำควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค 1. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 28.77 บาท เป็นเงิน 575.40 บาท 2.. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 15 ลิตร ลิตรละ 37.25 บาท เป็นเงิน 558.75 บาท 3. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 25 ลิตร ลิตรละ 30.07 บาท เป็นเงิน 751.75 บาท 4. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 38.45 บาท เป็นเงิน 769 บาท ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดของโครงการ ผลลัพธ์
1. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกในชุมชนลดลงเมื่อเปรียบเทียบย้อนหลัง 3 ปี
ผลลัพธ์ เปรียบเทียบอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก 3 ปี ย้อนหลัง
ปี 2558 จำนวนผู้ป่วย 13 ราย
คิดเป็น 209.68 ต่อแสนประชากร
ปี 2559 จำนวนผู้ป่วย 15 ราย
คิดเป็น 241.94 ต่อแสนประชากร
ปี 2560 จำนวนผู้ป่วย 9 ราย
คิดเป็น 146.22 ต่อแสนประชากร
ปี 2561 จำนวนผู้ป่วย 3 ราย
คิดเป็น 48.74 ต่อแสนประชากร
2. ประชาชนสุขภาพดีด้วยการจัดการสิ่งแวดล้อมในบ้านและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
ผลลัพธ์
มีการรณรงค์จัดการสิ่งแวดล้อมให้สะอาดทั้งในหมู่บ้าน
ในวัด และในโรงเรียนเป็นประจำสม่ำเสมอ มีการสำรวจลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์โดย อสม.
3.การเบิกจ่ายงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ 39,070 บาท ดังนี้ งบประมาณจ่ายจริง
1. ค่าโลชั่นทากันยุง จำนวน 200 ซอง ซองละ ๘ บาท เป็นเงิน 1,600 บาท
2. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 28.77 บาท เป็นเงิน 575.40 บาท
3. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 15 ลิตร ลิตรละ 37.25 บาท เป็นเงิน 558.75 บาท
4. ค่าทรายอะเบท จำนวน 6 ถัง ถังละ 5,๐00 บาท เป็นเงิน 30,000บาท
5. ค่ายาฉีดแมลง จำนวน 48 กระป๋อง กระป๋องละ 6๕ บาท เป็นเงิน 3,120 บาท
6. ค่าน้ำมันดีเซล จำนวน 25 ลิตร ลิตรละ 30.07 บาท เป็นเงิน 751.75 บาท
7. ค่าน้ำมันเบนซิล จำนวน 20 ลิตร ลิตรละ 38.45 บาท เป็นเงิน 769 บาท
รวมเงิน 37,374.90 บาท (สามหมื่นเจ็ดพันสามร้อยเจ็ดสิบสี่บาทเก้าสิบสตางค์)
งบประมาณเบิกจ่ายจริง 37,374.90 บาท คิดเป็นร้อยละ 95.66
งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ 1,695.10 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.34
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน ตัวชี้วัด : ไม่พบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=0) |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายด้วยความร่วมมือของประชาชนในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจลูกน้ำยุงลาย (2) ควบคุมโรคทางเคมี โดยการพ่นสารเคมีกรณีที่มีการระบาดของโรค
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 61-L3321-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางทัศนีย์ คงเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......