กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย ”
ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี



หัวหน้าโครงการ
ศุนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวังขนาย




ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ ประเภทที่ 3 / 002 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย จังหวัดกาญจนบุรี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวังขนาย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี รหัสโครงการ ประเภทที่ 3 / 002 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,075.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลวังขนาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันการพัฒนาเด็กปฐมวัยนั้นได้รับความสนใจเป็นอย่างมาก เริ่มมาจากกระแสการปฏิรูปการศึกษาที่ได้เน้นย้ำความสำคัญของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีความรู้ คุณธรรม จริยธรรม และมีวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ภายใต้คำจำกัดความว่าเก่ง ดี มีสุข ผู้ปกครองมีส่วนสำคัญอย่างมากต่อการพัฒนาเด็กปฐมวัยในทุกๆด้าน เพราะเด็กใช้เวลาอยู่ในสถานศึกษาเพียงหนึ่งในสามของเวลาที่เด็กอยู่กับครอบครัว ดังนั้น ผู้ปกครอง ซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดกับเด็กมากที่สุด จะต้องสร้างให้เด็กเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการดำเนินชีวิตได้อย่างเป็นสุข เด็กจะเจริญเติบโตได้มากน้อยเพียงใด อยู่ที่บทบาทของพ่อแม่ผู้ปกครอง เป็นสำคัญ ถึงแม้เด็กจะเข้าโรงเรียนแล้วก็ตาม แต่บ้านก็ยังคงเป็นสิ่งแวดล้อมสำคัญที่มีอิทธิพลยิ่ง ต่อเด็ก ศูนย์กลางที่พัฒนาการเด็กทั้งทางร่างกาย สมองและสติปัญญานั้น ได้แก่ ครอบครัว ถ้าหากครอบครัวให้ความอบอุ่น และสามารถอบรมเลี้ยงดูเด็กได้อย่างถูกต้อง อนาคตของเด็กก็แจ่มใส และมีผลต่อทัศนคติของเด็กด้วย ผู้ปกครองจะต้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา มีความสนใจในการร่วมกิจกรรมต่างๆที่ทางโรงเรียนจัดขึ้น การที่ผู้ปกครองมีปฏิสัมพันธ์กับเด็ก ได้ร่วมกิจกรรมต่างๆกับเด็ก ทำให้เด็กมีระดับสติปัญญาที่สูงขึ้น เพราะเด็กจะได้รับการกระตุ้น และได้แก้ปัญหาต่างๆ โดยมีผู้ปกครองคอยให้ความช่วยเหลืออยู่ใกล้ๆ การดูแลสุขภาพร่างกายของเด็กเป็นสิ่งสำคัญควบคู่กับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กด้าน IQ และ EQให้เด็กมีความพร้อมในการเรียนรู้ต่อไปแต่ถ้าหากเด็กมีสุขภาพร่ายกายไม่แข็งแรงเจ็บป่วยบ่อย จะส่งผลกระทบต่อพัฒนาการและสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้จึงจำเป็นต้องให้ความสำคัญกับการดำเนินงานด้านการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวังขนายตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพร่างกาย การส่งเสริมพัฒนาการเด็กและโรคติดต่อที่พบบ่อยในเด็ก ดังนั้นทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กจึงให้มีการจัดอบรมให้ความรู้แก่ ผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวังขนาย เรื่องการดูแลสุขภาพร่างกาย และโรคที่พบบ่อยในเด็กปฐมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กนักเรียน ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทราบแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในเด็กปฐมวัย ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ๔. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 63
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อ ๒. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทราบแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ๓. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ๔. เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

วันที่ 18 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-  ดำเนินงานกิจกรรมตามกลุ่มเป้าหมาย โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านศาลเจ้าโพรงไม้  ตำบลวังขนาย ไปให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง  เรื่อง
1. ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็ก วิธีการดูแล และการป้องกันโรค
2. การล้างมืออย่างถูกวิธีและการป้องกันการติดต่อ 3. ผู้ปกครองฝึกปฏิบัติจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เรื่องโรคติดต่อ ๒. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทราบแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ๓. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ๔. เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

 

63 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กนักเรียน ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทราบแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ในเด็กปฐมวัย ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ๔. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ตัวชี้วัด :
60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 63
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 63
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อในเด็กปฐมวัยแก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และเด็กนักเรียน          ๒. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กทราบแนวทางการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ          ในเด็กปฐมวัย                    ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กปฏิบัติต่อผู้ป่วยอย่างถูกต้อง          ๔. เพื่อให้เด็กนักเรียนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กปฐมวัย จังหวัด กาญจนบุรี

รหัสโครงการ ประเภทที่ 3 / 002

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศุนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลวังขนาย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด