กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

ปัญหาด้านการจัดการขยะเป็นปัญหาที่สำคัญของประเทศไทยในปัจจุบัน การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรและรูปแบบพฤติกรรมการบริโภค ส่งผลให้ปัยหาขยะมีแนวโน้มทวีความรุนแรงและเกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดการปนเปื้อนของพื้นดิน แหล่งน้ำและอากาศ ทำให้บ้านเมืองไม่เป๋นระเบียบเรียบร้อย ไม่เป็นที่เจริญแก่ผู้พบเห็น ส่งผลกระทบต่อสุขภาพประชาชนโดยทั่วไป การแก้ปัญหาของขยะมูลฝอย จึงควรปฏิบัติเพื่อป้องกันและแก้ไขผลเสียที่เกิดขึ้น โดยการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) ลดอัตราป่วยของประชาชนในชุมชนเกี่ยวกับโรคติดต่อในท้องถิ่น ที่เกิดจากแมลงเป็นพาหะนำโรค 2.)ให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ 3.) รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ การจัดบ้านเรือนในชุมชนให้ถูกหลักสุขาภิบาล ผลการดำเนินโครงการพบว่า

กิจกรรมอบรมให้ความรู้การเรื่องการคัดแยกขยะที่ต้นทาง/การจัดการขยะแบบ 3Rs/สาธิตการทำน้ำหมักชีวภาพแก่ แกนนำในชุมชน หลักสูตร 1 วัน ( จำนวน 3 รุ่นๆละ 50 คน)

ตัวชี้วัดกิจกรรม ประชาชนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการคัดแยกขยะที่ต้นทาง การจัดการขยะแบบ 3Rs และสามารถทำน้ำหมักชีวภาพเองได้ โดยใช้แบบประเมินก่อน-หลังอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการดำเนินกิจกรรม พบว่า ก่อนอบรม มีระดับความรู้ปานกลาง ร้อยละ 53.33 ส่วนหลังอบรม มีระดับความรู้ดีมาก ร้อยละ 81.33 และมีเพียงร้อยละ 40 ของครัวเรือนในชุมชนที่ทำน้ำหมักชีวภาพและนำไปใช้ประโยชน์


กิจกรรมรณรงค์ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะในครัวเรือน

ตัวชี้วัดกิจกรรม บ้านเรือนในชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง และจัดบ้านเรือน สิ่งแวดล้อมรอบบ้านให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยการลงพื้นที่ครัวเรือนในชุมชนหมู่ที่ 10 บ้านปากปิง จำนวน 3 ครั้ง พบว่า ครั้งที่ 1 พบว่า มีเพียงร้อยละ 45 ที่มีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ครั้งที่ 2 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะ ร้อยละ 61 และครั้งที่ 3 ครัวเรือนมีการคัดแยกขยะเพิ่มขึ้นร้อย 68

กิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล

ก่อนดำเนินกิจกรรมรณรงค์การจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล บ้านเรือนส่วนใหญ่ในชุมชนยังมีแหล่งบริเวณรอบๆ บ้าน มีภาชนะที่มีน้ำขัง ซึ่งเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง แต่หลังจากการลงพื้นที่บ้านเรือนในชุมชนแล้วและมีการแนะนำการจัดบ้านเรือนให้ถูกหลักสุขาภิบาล พบว่ามีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ดีขึ้น สามารถจัดบ้านเรือนและสิ่งแวดล้อมรอบบริเวณรอบๆ บ้านเรือน เพิ่มมากขึ้น ร้อยละ 70 โดยมีเกณฑ์การประเมิน 2 ส่วน คือ

  1. ลักษณะรอบบริเวณบ้าน โดยพิจารณาจากบริเวณบ้านสวยงาม ไม่มีขยะ และน้ำขัง มีการกำจัดขยะที่ถูกวิธี ไม่มีแหล่งเพราะพันธุ์ยุงลาย

  2. ลักษณะภายในบ้าน โดยพิจารณาจาก มีการจัดข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้านที่เป็นระเบียบ ความสะอาดของห้องครัว ห้องนอน และห้องน้ำ

สำหรับหลังจากดำเนินโครงการรณรงค์และส่งเสริมการลดปริมาณขยะในชุมชน หมู่ที่ 10 บ้านปากปิงพบผู้ป่วยไข้เลือดออก จำนวน 4 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 359.30 ต่อแสนประชากร ฉะนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ประชาชนในชุมชนต้องให้ความสำคัญและตระหนักถึงผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ที่ทุกคนต้องช่วยกันและให้ความร่วมมือในการลดปริมาณขยะในชุมชนเพื่อป้องกันจากโรคภัยต่างๆ ที่ตามมา เพราะถ้าชุมชนมีสิ่งแวดล้อมที่ดี ประชาชนในชุมชนก็อยู่อย่างเป็นสุข

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
  1. ประชาชนในชุมชนส่วนหนึ่งยังไม่ให้ความสนใจเกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือน
  2. ผู้จัดทำโครงการขาดการวางแผนการดำเนินกิจกรรม ทำให้การดำเนินกิจกรรมล่าช้า ไม่เป็นไปตามเวลาที่กำหนด
เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ