กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา ”
ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายสมเดช ใบหมะ




ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา

ที่อยู่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 6 เมษายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านนา อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 6 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 99,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลบ้านนา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากรเป็นสิ่งที่สำคัญยิ่งตัวชี้วัดหนึ่งของคุณภาพชีวิตที่ดีคือการมีสุขภาพที่ดีผลจากการเปลี่ยนแปลงสังคมเศรษฐกิจการเมืองและสิ่งแวดล้อมรวมทั้งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสารสนเทศได้ส่งผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของประชาชนทำให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากการมีพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่ไม่ถูกต้องทั้งสิ้นเช่นการกินอาหารที่มีไขมันสูงภาวะเครียดและขาดการออกกำลังกายเป็นต้นซึ่งโรคตามที่กล่าวแล้วนั้นสามารถป้องกันได้ด้วยการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน การส่งเสริมสุขภาพที่สำคัญประการหนึ่งคือการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพซึ่งเป็นยาที่ดีที่สุดมนุษย์กีฬามีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนทั้งในด้านสุขภาพและพลานามัยและด้านจิตใจเป็นสิ่งที่สะท้อนให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นดังนั้นกิจกรรมนันทนาการเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่มีความสำคัญเพิ่มขึ้นพร้อมกับความสนใจในสุขภาพของคนในปัจจุบันคือนันทนาการเพื่อสุขภาพเป็นปัจจัยที่สำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองครอบครัวชุมชนและสังคมนำไปสู่การมีส่วนร่วมในการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมการเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพกีฬาถูกนำไปใช้เป็นเครื่องมือเพื่อสร้างความเข็มแข็งของครอบครัวและชุมชนในประเทศที่พัฒนาแล้วทั่วโลกจะอาศัยกระบวนการของกีฬาเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างเครือข่ายชุชนตลอดจนการสร้างจิตสำนึกในการดำรงชีวิตที่มีคุณธรรมมีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่การออกกำลังกายและการเล่นกีฬาเป็นปัจจัยสำคัญอย่างหนึ่งในการพัฒนาคุณภาพชีวิตเนื่องจากในปัจจุบันสภาพสังคมและเศรษฐกิจได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วค่าครองชีพเพิ่มสูงขึ้นทำให้ทุกคนต้องขวนขวายทำงานเพื่อหารายได้มาจุนเจือครอบครัวทำให้ไม่มีเวลาออกกำลังกายหรือเล่นกีฬาด้วยเหตุนี้จึงทำให้สุขภาพร่างกายอ่อนแอลงและหันไปพึ่งพาสิ่งเสพติดทำให้มีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์เพิ่มมากขึ้นเมื่อเศรษฐกิจทรุดตัวลงสุขภาพเสื่อมสังคมมีปัญหาทำให้หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตระหนักในภัยอันตรายที่จะมีใกล้ตัวจึงมีแนวคิดที่จะแสวงหาแนวทางแห่งการแก้ปัญหาที่ถูกต้องและก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ทุกฝ่ายโดยทั่วกัน
การเล่นฟุตบอลก็เหมือนกับการเล่นกีฬาประเภทอื่นๆที่ผู้เล่นจำเป็นต้องมีมารยาทในการเล่นเพื่อให้การเล่นดำเนินไปด้วยดีนอกจากนี้ผู้ดูก็ควรมีมารยาทในการดูเช่นเดียวกันจึงจะทำให้เกิดผลดีต่อการกีฬาอย่างสมบูรณ์ทำให้เกิดความรักและความสามัคคีในหมู่คณะเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือกันมีน้ำใจนักกีฬาแสดงการขอโทษเมื่อรู้ว่าตนเองกระทำผิดรู้จักให้อภัยเมื่อเพื่อนผิดพลาดรู้จักแพ้เมื่อตนเองมีความสามารถและฝีมือไม่มากนักมีความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนตามที่ได้รับมอบหมายปฏิบัติตามกฎกติกาการเล่นโดยเคร่งครัดเชื่อฟังการตัดสินของผู้ตัดสินโดยไม่แสดงกิริยาที่ไม่เหมาะสมแก่ผู้ตัดสินในการตักสินไม่กระทำการใดๆ อันเป็นการยั่วยุหรือกลั่นแกล้งผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามมีความอดทนเสียสละกล้าตัดสินใจแสดงความคิดเห็นและแสดงออกในสิ่งที่ถูกต้องมีความสุภาพเรียบร้อย ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบประเพณีที่ดีงามการเล่นกีฬาฟุตบอลให้เกิดประสิทธิภาพผู้เล่นต้องเรียนรู้จนเกิดทักษะพื้นฐานหลายด้านอาทิการเคลื่อนไหวเบื้องต้นการทำความคุ้นเคยกับลูกฟุตบอลการหยุดหรือบังคับลูกทักษะเหล่านี้มีความละเอียดอ่อนและเป็นพื้นฐานสำหรับเทคนิคการเล่นอื่นๆ ต่อไปซึ่งต้องอาศัยการฝึกฝนจนชำนาญและเป็นทักษะที่ต้องการพัฒนาอย่างต่อเนื่องอีกทั้งเพื่อให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติเทศบาลพ.ศ.2496แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่13 ) พ.ศ.2552 มาตรา 50 ภายใต้บังคับแห่งกฎหมายเทศบาลตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตเทศบาลดังต่อไปนี้ (7) ส่งเสริมการพัฒนาสตรีเด็กเยาวชนผู้สูงอายุและผู้การ และพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ.2549 มาตรา 16 ให้เทศบาล เมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (14)ส่งเสริมกีฬาเพื่อระบบสุขภาพที่ดี จึงเป็นบทบาทของทุกคนที่จะให้ความสำคัญในการดูแลสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬาออกกำลังกาย และห่างไกลยาเสพติด
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้กีฬาสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและสังคม
  3. ข้อที่ 3 เพื่อคัดเลือกนักกีฬาเป็นตัวแทน เทศบาลตำบลบ้านนา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับอำเภอหรือเข้าร่วมแข่งขันอื่น ๆ ที่จัดให้มีขึ้นในจังหวัดสงขลา
  4. ข้อที่ 4 เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง และห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1 อบรมให้ความรู้ทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวนในพื้นที่ตำบลบ้านนาให้ความสนใจการเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพมากขึ้นและสามารถลดปัญหายาเสพติดในชุมชนได้ในระดับหนึ่ง
    1. เด็กและเยาวชนได้พัฒนาศักยภาพทางด้านร่างกายจิตใจอารมณ์และสติปัญญาจากการเล่นกีฬา
    2. เกิดความสัมพันธ์ที่ดีและความสามัคคีในหมู่บ้าน/ชุมชนและสังคมให้มีความเข็มแข็ง
    3. นักกีฬาได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถแข่งขันในระดับที่สูงขึ้น
    4. เด็กและเยาวชนมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง และห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬาออกกำลังกาย และห่างไกลยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนในเขตพื้นที่ตำบลบ้านนา จำนวน 60 คน - เด็กผ่านการเข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ขึ้นไป หรือ 48 คนขึ้นไป ของจำนวนเป้าหมายที่ตั้งไว้
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้กีฬาสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและสังคม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อคัดเลือกนักกีฬาเป็นตัวแทน เทศบาลตำบลบ้านนา เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับอำเภอหรือเข้าร่วมแข่งขันอื่น ๆ ที่จัดให้มีขึ้นในจังหวัดสงขลา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง และห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อส่งเสริมสนับสนุนสร้างจิตสำนึกและปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการเล่นกีฬาออกกำลังกาย  และห่างไกลยาเสพติด (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้กีฬาสามารถพัฒนาศักยภาพทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์  สติปัญญาและสังคม (3) ข้อที่ 3 เพื่อคัดเลือกนักกีฬาเป็นตัวแทน  เทศบาลตำบลบ้านนา  เข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับอำเภอหรือเข้าร่วมแข่งขันอื่น ๆ ที่จัดให้มีขึ้นในจังหวัดสงขลา (4) ข้อที่ 4  เพื่อให้เยาวชนและประชาชนมีสุขภาพพลานามัยที่แข็งแรง  และห่างไกลโรคภัยไข้เจ็บ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 อบรมให้ความรู้ทักษะการเล่นกีฬาฟุตบอล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการฝึกอบรมส่งเสริมทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพในเยาวชนตำบลบ้านนา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมเดช ใบหมะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด