กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการบ้านหลังโรงเรียน ”
ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริรสกิ้มเฉี้ยง




ชื่อโครงการ โครงการบ้านหลังโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1499-2-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านหลังโรงเรียน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านหลังโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านหลังโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางรัก อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1499-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2561 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 58,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัญหาของครอบครัวในชุมชน ที่เกิดขึ้นจากปัจจัยทั้งภายในและภายนอกสภาพทางเศรษฐกิจสังคมปัญหาความยากจนการไม่มีเวลาที่จะทำความเข้าใจระหว่างสมาชิกในครอบครัวปัจจัยเหล่านี้ จึงส่งผลให้ครอบครัวไม่มีความมั่นคงนำไปสู่ครอบครัวที่แตกแยก หย่าร้าง เป็นเหตุให้เด็กซึ่งเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรง ถูกชักจูงไปในทางที่ผิดติดยาเสพติด และสร้างปัญหาให้กับชุมชนการป้องกันมิให้ต้นเหตุแห่งปัญหาเกิดขึ้นจึงต้องมุ่งสร้างสถาบันครอบครัวให้มีศักยภาพโดยมีข้อมูลที่สนับสนุนอย่างชัดเจนจากการจัดทำฐานข้อมูลระบบเฝ้าระวังเพื่อการคุ้มครองเด็กขององค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.) โดยการสนับสนุนจากสถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับองค์กรยูนิเซฟประเทศไทย สามารถนำมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าเด็กและเยาวชนได้รับผลกระทบจากปัญหาสภาพครอบครัวขาดผู้ดูแลและส่งเสริมให้เด็กมีการพัฒนาการตามวัยที่ไม่เหมาะสม รวมถึงขาดผู้ปกป้องดูแลให้เด็กได้เจริญเติบโตในสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรต่อเด็ก ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลบางรักได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวจึงกำหนดจัดกิจกรรม “โครงการบ้านหลังเรียน”ขึ้นเพื่อดำเนินการเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเด็กในตำบลบางรัก ซึ่งส่วนใหญ่เป็นเด็กกลุ่มเปราะบาง เช่น กำพร้า อยู่ในครอบครัวด้อยโอกาสและเด็กที่มีวุฒิภาวะต่ำกว่าเกณฑ์ เพื่อให้เขาเหล่านั้นมีโอกาสได้ ฝึกการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและปรับอารมณ์ความรู้สึกทำให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีขึ้น เสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสมมีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์ และเรียนรู้แนวคิดเรื่องเกษตรอินทรีย์ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน เกษตรอินทรีย์พึ่งพาอาศัยกระบวนการทางนิเวศวิทยา ความหลากหลายทางชีวภาพ และวงจรธรรมชาติ ที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ละพื้นที่ แทนที่จะใช้ปัจจัยการผลิตที่มีผลกระทบทางลบ เกษตรอินทรีย์ผสมผสานองค์ความรู้พื้นบ้าน นวัตกรรม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และส่งเสริมความสัมพันธ์ที่เป็นธรรม และคุณภาพชีวิตที่ดีของทุกผู้คนและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เด็กฝึกการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและปรับอารมณ์ความรู้สึกทำให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีขึ้น
  2. 2. เพื่อให้เสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม
  3. 3. เพื่อให้เด็กมีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์
  4. 4.เพื่อให้เด็กเรียนรู้แนวคิดเรื่องเกษตรอินทรีย์ ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการบ้านหลังโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กได้ฝึกการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและปรับอารมณ์ความรู้สึกทำให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีขึ้น
  2. เด็กได้เสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม
  3. เด็กได้มีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์
  4. เด็กได้เรียนรู้แนวคิดเรื่องเกษตรอินทรีย์ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เด็กฝึกการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและปรับอารมณ์ความรู้สึกทำให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีขึ้น
ตัวชี้วัด : เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและสามารถปรับอารมณ์ความรู้สึกให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีชึ้น ร้อยละ 100
0.00

 

2 2. เพื่อให้เสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้สามารถเสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่ได้เหมาะสมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 100
0.00

 

3 3. เพื่อให้เด็กมีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์
ตัวชี้วัด : เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมมีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์ ได้ดีขึ้น ร้อยละ 100
0.00

 

4 4.เพื่อให้เด็กเรียนรู้แนวคิดเรื่องเกษตรอินทรีย์ ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน
ตัวชี้วัด : เด็กที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถเรียนรู้แนวคิดและสร้างความเข้าใจเรื่องเกษตรอินทรีย์ ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน ได้ดีขึ้น ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เด็กฝึกการใช้สมาธิ ลดระดับความเครียดและปรับอารมณ์ความรู้สึกทำให้มีความผ่อนคลาย ซึ่งจะมีส่วนช่วยทำให้สุขภาพรวมถึงการดำรงชีวิตดีขึ้น (2) 2. เพื่อให้เสริมสร้างพัฒนาการตามวัยที่เหมาะสม (3) 3. เพื่อให้เด็กมีภูมิคุ้มกันตัวเองจากภัยต่างๆ ทางสังคม เช่นภัยจากยาเสพติด ภัยจากโรคเอดส์ จากปัญหาการตั้งครรภ์ไม่พร้อม ภัยจากโรคติดต่อ และไม่ติดต่อ ภัยจากสารสเตอรอยด์ (4) 4.เพื่อให้เด็กเรียนรู้แนวคิดเรื่องเกษตรอินทรีย์  ระบบการผลิตที่ให้ความสำคัญกับ ความยั่งยืนของสุขภาพดิน ระบบนิเวศ และผู้คน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบ้านหลังโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านหลังโรงเรียน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1499-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริรสกิ้มเฉี้ยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด