การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน ”
ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเอมอร แสนดี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา
เมษายน 2561
ชื่อโครงการ การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2561 ถึง 28 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2561 - 28 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่นๆนั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจากภาวะโลกร้อน อากาศแปรปรวน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดต่ออื่นๆ
จากรายงานสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – ๓๑ สิงหาคม 25๖๐ ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 33,271 ราย อัตราป่วย 50.85 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน ๔๘ ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.14 จังหวัดตรังอยู่ลำดับที่ ๔๑ ของประเทศโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๒๓๘ ราย อัตราป่วย 37.14 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต และพื้นที่ตำบลควนเมามีผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑ รายและผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑๒ ราย สำหรับ 5 อันดับโรคของการป่วยในพื้นที่อำเภอรัษฎา อันดับ 1 คือ โรคอุจจาระร่วง จำนวน ๓๓๒ ราย อันดับ 2 โรคปอดบวม จำนวน ๔๙ ราย อันดับ 3 โรคตาแดง จำนวน ๓๕ ราย อันดับ ๔ โรคไข้สุกใส จำนวน ๑๗ ราย และอันดับ 5 โรคมือเท้าปาก จำนวน ๑๓ ราย อัตราป่วย เท่ากับ 1147.๔๐, ๑69.35, ๑20.96, 58.75 และ 44.93 ต่อแสนประชากรตามลำดับ
เมื่อเกิดโรคติดต่อขึ้นทำให้ประชาชนในหมู่บ้านมีอาการป่วยจากโรคซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการรักษาพยาบาลและอาจเสียชีวิตได้ ในขณะเดียวกันการระบาดของโรคก็เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วนับเป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนเป็นอย่างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีมาตรการควบคุม ป้องกัน การเกิดการระบาดของโรคให้มีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องซึ่งจะนำไปสู่การปลอดภัยจากโรคติดต่อและการมีสุขภาพดีต่อไป ทางสถานีอนามัยเฉลิม พระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน” เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีความรู้และสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขมีระบบการเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่ดีสามารถหยุดการแพร่ระบาดและลดอัตราป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
39
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
39
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
39
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเอมอร แสนดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน ”
ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางเอมอร แสนดี
เมษายน 2561
ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 เมษายน 2561 ถึง 28 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 เมษายน 2561 - 28 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในปัจจุบันโรคติดต่อที่นำโดยแมลงและโรคติดต่อจากสาเหตุอื่นๆนั้นนับว่าเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในระดับประเทศ และจากภาวะโลกร้อน อากาศแปรปรวน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโรคติดต่อที่สำคัญ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคอุจจาระร่วง โรคอาหารเป็นพิษ โรคไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดต่ออื่นๆ
จากรายงานสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – ๓๑ สิงหาคม 25๖๐ ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 33,271 ราย อัตราป่วย 50.85 ต่อแสนประชากร มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน ๔๘ ราย อัตราป่วย-ตายร้อยละ 0.14 จังหวัดตรังอยู่ลำดับที่ ๔๑ ของประเทศโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง ได้รับรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๒๓๘ ราย อัตราป่วย 37.14 ต่อแสนประชากร ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต และพื้นที่ตำบลควนเมามีผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑ รายและผู้ป่วยสงสัยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑๒ ราย สำหรับ 5 อันดับโรคของการป่วยในพื้นที่อำเภอรัษฎา อันดับ 1 คือ โรคอุจจาระร่วง จำนวน ๓๓๒ ราย อันดับ 2 โรคปอดบวม จำนวน ๔๙ ราย อันดับ 3 โรคตาแดง จำนวน ๓๕ ราย อันดับ ๔ โรคไข้สุกใส จำนวน ๑๗ ราย และอันดับ 5 โรคมือเท้าปาก จำนวน ๑๓ ราย อัตราป่วย เท่ากับ 1147.๔๐, ๑69.35, ๑20.96, 58.75 และ 44.93 ต่อแสนประชากรตามลำดับ
เมื่อเกิดโรคติดต่อขึ้นทำให้ประชาชนในหมู่บ้านมีอาการป่วยจากโรคซึ่งต้องเสียค่าใช้จ่ายและเสียเวลาในการรักษาพยาบาลและอาจเสียชีวิตได้ ในขณะเดียวกันการระบาดของโรคก็เป็นไปได้ง่ายและรวดเร็วนับเป็นปัญหาต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนเป็นอย่างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีมาตรการควบคุม ป้องกัน การเกิดการระบาดของโรคให้มีความต่อเนื่องและเป็นรูปธรรม โดยประชาชนในชุมชนได้มีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันอย่างจริงจังและต่อเนื่องซึ่งจะนำไปสู่การปลอดภัยจากโรคติดต่อและการมีสุขภาพดีต่อไป ทางสถานีอนามัยเฉลิม พระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน” เพื่อให้ประชาชนกลุ่มวัยทำงานมีความรู้และสามารถป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขมีระบบการเฝ้าระวังป้องกันการระบาดของโรคติดต่อที่ดีสามารถหยุดการแพร่ระบาดและลดอัตราป่วยและเสียชีวิตด้วยโรคติดต่อได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมให้ความรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 39 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 39 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 39 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การควบคุมป้องกันโรคและภัยคุกคามที่เป็นปัญหาในชุมชน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเอมอร แสนดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......