กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ 1.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้  ความเข้าใจ  สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ 90
2.มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน  เกิดแผลที่เท้า  จำนวน  1  ราย
กิจกรรมค้ดกรองผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 1.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- ตรวจเท้า  จำนวน  98  ราย  คิดเป็นร้อยละ 100
- ตรวจตา  จำนวน  48  ราย  คิดเป็นร้อยละ 48.97 - ตรวจไต  จำนวน  60  ราย  คิดเป็นร้อยละ 61.22 - ประเมินภาวะซึมเศร้า  จำนวน  98  ราย  คิดเป็นร้อยละ  100 - ตรวจฟัน  จำนวน 98 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 2.ตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง  ดังนี้ - ประเมินภาวะซึมเศร้า  จำนวน 295  คิดเป็นร้อยละ  100
สิ่งที่ได้จากการเรียนรู้       การสร้างพฤติกรรมสุขภาพที่ดี  ยังเป็นเรื่องยากสำหรับผู้ป่วยหลายๆ คน เพราะผู้ป่วยยังมองว่า ตัวเองยังสบายดี ไม่มีโรคแทรกซ้อน  ไม่กลัว และการตาย เป็นเรื่องที่พระเจ้ากำหนดไว้แล้ว เลยขาดความตระหนักในเรื่องของการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน  ที่อาจเกิดขึ้นได้  อีกส่วนหนึ่งผู้ป่วยที่เป็นผู้สูงอายุ  ขาดผู้ดูแล ขาดการเอาใจใส่  ขาดการเฝ้าระวัง  ปัญหาทั้งหมดนี้ เป็นปัญหาที่แก้ยาก  เพราะจะทำให้สำเร็จได้  ต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ป่วยเอง ครอบครัวหรือผู้ดูแล สิ่งที่ประทับใจ       ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสนใจ  ตั้งใจ  มีการถามตอบข้อสงสัย  ให้ความร่วมมือในทุกกิจกรรม ปัญหาอุปสรรค     - เรื่องภาษา  เนื่องจาก ผู้เข้าร่วมโครงการ บางคนพูดมลายู  ฟังภาษาไทยไม่เข้าใจ  ทำให้เกิดการติดขัดในการสื่อสาร     - แกนนำ  อสม. คลินิกโรคเรื้อรัง  ยังขาดความมั่นใจ ในการทำกิจกรรมร่วมกับผู้ป่วย แนวทางการแก้ไข     - ให้ จนท.ที่สามารถพูดมลายูได้  และแกนนำ อสม. เข้ามาช่วยเหลือ คอยอธิบายทำความเข้าใจ     - พัฒนาศักยภาพแกนนำ  อสม.คลินิกฌรคเรื้อรัง  เพิ่มความรู้  สร้างความมั่นใจให้แกนนำ  เพื่อเป็นแกนนำหลักสามารถให้ความรู้เรื่อง  3อ2ส. ให้กับผู้ป่วยและคนในชุมชนได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตอบคำถามย้อนกลับได้ ร้อยละ ๙๐

 

2 ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการคัดกรองภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ ๑๐๐ - ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพิ่มขึ้นจากเดิม

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 271
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 271
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจ เรื่องการดูแลป้องกันเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรังสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างเหมาะสม (2) ๒. เพื่อค้นหาคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh