กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข ”
ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางรอมือละมามุ




ชื่อโครงการ โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข

ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องด้วยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตเพียงลำพัง จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย สิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ กลุ่มผู้สูงอายุที่ถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่า ผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ วัฒนธรรม มีทักษะ อนุรักษ์ สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดังเดิมซึ่งใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการจัดงานต่างๆทั้งในด้านสังคมศิลปวัฒนธรรมประเพณี และกิจกรรมอื่นๆวัดจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และมีผลต่อวิถีของคนไทยในอดีต จากสภาพการณ์ในปัจจุบันปัญหาต่างๆทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมเดิมที่มีความสงบความโอบอ้อมอารีเป็นสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันกลับกลายเป็นสังคมที่วุ่นวายแก่งแย่งแข่งขันกัน ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของคนในสังคมที่เห็นได้ชัด คือกลุ่มผู้สูงอายุเนื่องจากเป็นวัยที่พ้นจากวัยแรงงานจึงมักถูกทิ้งให้อยู่บ้านเพียงลำพังผู้สูงอายหลายคนขาดความสุขทางใจ เกิดเป็นโรคซึมเศร้าจากภาพผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุเพื่อป็นการเสริมสร้างพื้นฐานทางจิตใจที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ความอดทน ความเพียร ความพยายาม และมีความรอบคอบเพื่อให้เกิดความสมดุลและความพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น จะนำพาราษฎร ให้เกิดการพัฒนาสถาบันครอบครัวพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นครอบครัวอบอุ่นมีความสุข เข้มแข็งและร่มเย็นเป็นสุขยั่งยืนเพื่อป้องกันและร่วมกันดูแลปัญหาเด็กไร้อนาคตด้วยการสนับสนุนให้ราษฎรและชุมชน สมาชิกโครงการทำการพัฒนาตนเองด้านชีวิตความเป็นอยู่ ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในบ้านเรือนเพื่อสุขภาพที่ดี อีกทั้งยังสนับสนุนให้มีทัศนคติชีวิตที่ดีในการพัฒนาความผูกพันในครอบครัว ด้วยกิจกรรมสานสายใยรักแห่งครอบครัว รวมทั้งการสานสายใยรักในชุมชนให้กลับคืนสู่ความเป็นสังคมไทยดั้งเดิมที่งดงามอบอุ่นและมีความสุขร่มเย็นโดยกระบวนการการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕วันๆละอย่างน้อย๓๐นาทีและการรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณ ครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้ราษฎรลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ถึงร้อยละ ๒๐-๓๐โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดก็ลดลงมากเช่นกันทั้งการออกกำลังกายและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย
เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการและลดปัญหาโรคที่เกิดในผู้สูงอายุที่เกิดขึ้นและต่อครอบครัวผู้สูงอายุ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลนาประดู่จึงเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุจึงได้ขอเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาประดู่ โดยจัดทำโครงการแจ่มใส่ จิตใจเป็นสุข เนื่องด้วยการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรของประเทศไทย ทำให้ประชากรในวัยผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคม มีผลให้ลักษณะครอบครัวไทยเปลี่ยนจากครอบครัวขยาย ไปสู่ครอบครัวเดี่ยว ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัวลดลง จำนวนผู้ที่จะทำหน้าที่ดูแลผู้สูงอายุในครอบครัวลดลง มีเวลาให้ผู้สูงอายุลดลง ขาดการให้ความรักและความอบอุ่น ผู้สูงอายุจึงถูกทอดทิ้งให้อยู่โดดเดี่ยว ดำเนินชีวิตเพียงลำพัง จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้ผู้สูงอายุเกิดความน้อยใจ ความเครียด ความคับข้องใจ แยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัว ท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับวัยสูงอายุเป็นวัยที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลง มีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น มีสารชีวเคมีและฮอร์โมนลดลง การสูญเสีย สิ่งสำคัญของชีวิต เช่น การสูญเสียคู่ชีวิตเพราะตายจาก การสูญเสียบุตรเพราะแยกไปมีครอบครัว การสูญเสียตำแห่งหน้าที่การงาน การสูญเสียสถานภาพหรือบทบาททางสังคม ตลอดจนการสูญเสียการเป็นที่พึ่งของครอบครัว สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของผู้สูงอายุ และหากผู้สูงอายุไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้ว จะยิ่งส่งเสริมให้ผู้สูงอายุว้าเหว่ มีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ กลุ่มผู้สูงอายุที่ถือว่าเป็นปูชนียบุคคลของสังคมที่มีคุณค่า ผ่านประสบการณ์มามาก ได้เคยเป็นกำลังสำคัญของสังคมมาก่อน มีความรู้ วัฒนธรรม มีทักษะ อนุรักษ์ สืบทอดประเพณีวัฒนธรรมท้องถิ่น วิถีชีวิตดังเดิมซึ่งใช้วัดเป็นศูนย์กลางในการจัดงานต่างๆทั้งในด้านสังคมศิลปวัฒนธรรมประเพณี และกิจกรรมอื่นๆวัดจึงเป็นศูนย์รวมจิตใจของพุทธศาสนิกชน และมีผลต่อวิถีของคนไทยในอดีต จากสภาพการณ์ในปัจจุบันปัญหาต่างๆทั้งทางด้านเศรษฐกิจสังคมส่งผลต่อสุขภาพจิตของผู้สูงอายุทำให้ผู้สูงอายุเปลี่ยนแปลงไปจากสังคมเดิมที่มีความสงบความโอบอ้อมอารีเป็นสังคมที่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันกลับกลายเป็นสังคมที่วุ่นวายแก่งแย่งแข่งขันกัน ที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจของคนในสังคมที่เห็นได้ชัด คือกลุ่มผู้สูงอายุเนื่องจากเป็นวัยที่พ้นจากวัยแรงงานจึงมักถูกทิ้งให้อยู่บ้านเพียงลำพังผู้สูงอายหลายคนขาดความสุขทางใจ เกิดเป็นโรคซึมเศร้าจากภาพผู้สูงอายุ เพื่อให้ผู้สูงอายุเพื่อป็นการเสริมสร้างพื้นฐานทางจิตใจที่เหมาะสมกับการดำเนินชีวิต ความอดทน ความเพียร ความพยายาม และมีความรอบคอบเพื่อให้เกิดความสมดุลและความพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงที่เป็นไปอย่างรวดเร็ว และส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้น จะนำพาราษฎร ให้เกิดการพัฒนาสถาบันครอบครัวพัฒนาคุณภาพชีวิตให้เป็นครอบครัวอบอุ่นมีความสุข เข้มแข็งและร่มเย็นเป็นสุขยั่งยืนเพื่อป้องกันและร่วมกันดูแลปัญหาเด็กไร้อนาคตด้วยการสนับสนุนให้ราษฎรและชุมชน สมาชิกโครงการทำการพัฒนาตนเองด้านชีวิตความเป็นอยู่ ด้วยหลักเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและพัฒนาสิ่งแวดล้อมในบ้านเรือนเพื่อสุขภาพที่ดี อีกทั้งยังสนับสนุนให้มีทัศนคติชีวิตที่ดีในการพัฒนาความผูกพันในครอบครัว ด้วยกิจกรรมสานสายใยรักแห่งครอบครัว รวมทั้งการสานสายใยรักในชุมชนให้กลับคืนสู่ความเป็นสังคมไทยดั้งเดิมที่งดงามอบอุ่นและมีความสุขร่มเย็นโดยกระบวนการการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕วันๆละอย่างน้อย๓๐นาทีและการรับประทานผักและผลไม้สด วันละครึ่งกิโลกรัม หรือรับประทานผักในปริมาณ ครึ่งหนึ่งของอาหารแต่ละมื้อ และลดการรับประทานอาหารไขมัน จะสามารถทำให้ราษฎรลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ถึงร้อยละ ๒๐-๓๐โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดก็ลดลงมากเช่นกันทั้งการออกกำลังกายและการปลูกผักร่วมกันยังเป็นกิจกรรมสร้างความอบอุ่นในครอบครัวอีกด้วย
เพื่อให้เกิดการบูรณาการในการและลดปัญหาโรคที่เกิดในผู้สูงอายุที่เกิดขึ้นและต่อครอบครัวผู้สูงอายุ ดังนั้น ศูนย์พัฒนาครอบครัวตำบลนาประดู่จึงเล็งเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุจึงได้ขอเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลนาประดู่ โดยจัดทำโครงการแจ่มใส่ จิตใจเป็นสุข

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุและคนในครอบครัวดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง ๒.ให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕ วันๆละอย่างน้อย๓๐นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน ๓.เพื่อป้องกันและรักษาสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและป้องโรคเบาหวานและความดัน,โรคอ้วนในผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑.ประชาชนในหมู่บ้านลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งโรคความดันโลหิตสูงและ โรคหัวใจและหลอดเลือด/นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพตามสุขบัญญัติเป็นวิถีชีวิต ๒.ลดภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลของประชาชน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ๑.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุและคนในครอบครัวดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง ๒.ให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕ วันๆละอย่างน้อย๓๐นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน ๓.เพื่อป้องกันและรักษาสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและป้องโรคเบาหวานและความดัน,โรคอ้วนในผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ๑.ประเมินการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในกระบวนการพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบลดโรค สู่การเป็นหมู่บ้านสุขภาพดี จากแบบสรุปผลการดำเนินงาน ๒.ประเมินความพึงพอใจของเครือข่ายและประชาชนต่อกระบวนการหมู่บ้านต้นแบบลดโรค สู่การเป็นหมู่บ้านสุขภาพดี โดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ 50
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุและคนในครอบครัวดูแลและรักษาสุขภาพของตนเอง ๒.ให้ประชาชนมีความรู้และมีการออกกำลังกายสม่ำเสมอสัปดาห์ละอย่างน้อย ๓-๕ วันๆละอย่างน้อย๓๐นาทีร่วมกับการรับประทานผักและผลไม้สดวันละอย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมขึ้นไป หรือกินผักครึ่งหนึ่งอย่างอื่นครึ่งหนึ่งและลดอาหารไขมัน
    ๓.เพื่อป้องกันและรักษาสุขภาพให้กับผู้สูงอายุและป้องโรคเบาหวานและความดัน,โรคอ้วนในผู้สูงอายุ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแจ่มใส จิตใจเป็นสุข จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางรอมือละมามุ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด