กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ


“ เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑ ”

ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางนงนุช ยวงใย

ชื่อโครงการ เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑

ที่อยู่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-01-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2561


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑



บทคัดย่อ

โครงการ " เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 61-L8413-01-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลบาลอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการร่วมกันดำเนินโครงการเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศึกษาทั่วประเทศมาตั้งแต่ปีการศึกษา2531โดยมีกิจกรรมหลักประกอบด้วยการตรวจฟันเด็กนักเรียนโดยทันตบุคลากรปีละ 1ครั้งการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันที่โรงเรียนการใช้น้ำยาบ้วนปากผสมฟลูออไรด์ป้องกันโรคฟันผุ ( ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นการใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์)และการส่งต่อเพื่อรับบริการทันตกรรมที่จำเป็นเพื่อแก้ไขปัญหาโรคในช่องปาก
จากภาวะการณ์ปัจจุบันเด็กนักเรียนมักมีปัญหาสุขภาพช่องปากมากขึ้น เพราะการกินอาหารที่ส่วนมากเป็นขนมหวานเหนียว และไม่ชอบแปรงฟัน ประกอบกับโรงเรียนหรือหน่วยบริการสาธารณสุขอาจยังไม่มีกิจกรรมป้องกันส่งเสริมทันตสุขภาพที่ชัดเจน หรือมีแต่ไม่ได้ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง จากการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาลอ ตำบลบาลอ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา ย้อนหลัง 2 ปีที่ผ่านมา พบว่า เด็กอายุ12ปี ที่มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity free) ในปีงบ 2559 และ2560 เท่ากับ 30และ 56.14 ตามลำดับ (เกณฑ์ไม่เกินร้อยละ 52) เพิ่มขึ้นจากในปีที่ผ่านมา ด้วยเหตุนี้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมการให้ทันตสุขศึกษากิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหารกลางวันรวมทั้งกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ทั้งนี้เพื่อรณรงค์และกระตุ้นความสนใจ และสร้างกระแสในการดูแลทันตสุขภาพตนเองของนักเรียน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
  2. เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่เป็นรูปธรรม และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
  3. เพื่อส่งเสริมให้มีแกนนำด้านทันตสุขภาพในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมย้อมสีฟันเพื่อดูคราบจุลินทรีย์
  2. กิจกรรมจัดประชุมเวทีเสวนาเรื่องทันตสุขศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.แกนนำนักเรียนประถมศึกษาสามารถเเปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก 3.โรงเรียนมีกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ชัดเจน เป็นรูปแบบ และสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีระบบการตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดประชุมเวทีเสวนาเรื่องทันตสุขศึกษา

วันที่ 27 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการให้โรงเรียนเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาลอ 2.จัดเวทีเสวนาเรื่องทันตสุขศึกษา แก่แกนนำนักเรียน 3โรง จำนวน 100 คน ในเขตรับผิดชอบ 3.ย้อมสีฟันดูคราบจุลินทรีก่อนและหลังได้รับความรู้ เพื่อตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟัน 4.ให้แกนนำแต่โรงเรียนเป็นผู้นำสอนเด็กในโรงเรียนแปรงฟันหน้าเสาธง 5.สรุปผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แกนนำนักเรียนประถมศึกษาสามารถเเปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ 2.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก 3.โรงเรียนมีกิจกรรมด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากที่ชัดเจน เป็นรูปแบบ และสามารถดำเนินการได้

 

100 0

2. กิจกรรมย้อมสีฟันเพื่อดูคราบจุลินทรีย์

วันที่ 27 กันยายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมย้อมสีฟันดูคราบจุลินทรีย์โดยก่อนและหลังได้รับความรุ้ เพื่อตรวจประสิทธิภาพการแปรงฟันของเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำนักเรียนประถมศึกษาสามารถแปรงฟันที่ถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง้กี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (Cavity free)ร้อยละ52
0.00

 

2 เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่เป็นรูปธรรม และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริมให้มีแกนนำด้านทันตสุขภาพในโรงเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้โรงเรียนมีกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพที่เป็นรูปธรรม และดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง (3) เพื่อส่งเสริมให้มีแกนนำด้านทันตสุขภาพในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมย้อมสีฟันเพื่อดูคราบจุลินทรีย์ (2) กิจกรรมจัดประชุมเวทีเสวนาเรื่องทันตสุขศึกษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เด็กรุ่นใหม่ ปราศจากโรคฟันผุ ตำบลบาลอ ปี ๒๕๖๑ จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 61-L8413-01-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนงนุช ยวงใย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด