กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย ”
ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางปิ่นอนงค์ สาเล๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 60-L5307-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 60-L5307-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เนื่องจาก กลุ่มสตรีในชุมชนบ้านทุ่งวิมานมีภาวะอ้วนลงพุงสังเกตได้จากการคัดกรอง BMIในหมู่บ้านและพฤติกรรมการกินตามปาก ขาดการออกกำลังกาย กินแล้วนอน จึงเกิดภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ ซึ่งเป็นสาเหตุในการเกิดโรคหลายๆโรคตามมา เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดและหัวใจ เป็นต้น
กลุ่มรักษ์สุขภาพและสิ่งแวดล้อมบ้านทุ่งวิมาน ได้เห็นความสำคัญในเรื่องนี้ จึงระดมความคิดเพื่อจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่เหมาะสมและส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เพื่อจะให้กลุ่มสตรีในชุมชนสามารถควบคุมภาวะน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ให้ความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกบริโภคอาหารของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
  2. 2. ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มสตรีที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์
  3. 3. กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. สตรีบ้านทุ่งวิมานหุ่นดีหุ่นสวย ปราศจากโรค
    2. คนในชุมชนบ้านทุ่งวิมานหันมาออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง 3 คนในชุมชนบ้านทุ่งวิมานมีความรู้เรื่องการบริโภคอาหารมากขึ้น 4 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีดัชนีมวลกายลดลงอย่างน้อยร้อยละ 80

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนัก สายรัด ในการประเมินค่าดัชนีมวลกาย

    วันที่ 5 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    คัดกรองผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้และออกกำลังกาย จำนวน 40 คน

     

    40 40

    2. จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยง

    วันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมอบรมให้ความรู้ ตามโครงการ จำนวน  40 คน มีผู้เข้าร่วมอบรมจริง จำนวน 43 คน  ผลการทดสอบความรู้ก่อนหลังการอบรม พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 (32 คน*100 / 40)

     

    43 43

    3. ประเมินค่าดัชนีมวลกายของผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย

    วันที่ 9 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ในจำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 40 คน  มีค่าดัชนีมวลกายลดลง 39 คน  คิดเป็นร้อยละ 97.50

     

    40 40

    4. จัดกิจกรรมออกกำลังกายจำนวน 24 สัปดาห์ เพื่อลดน้ำหนัก

    วันที่ 9 กันยายน 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย เฉลี่ย จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 85

     

    40 40

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    กิจกรรมที่ 1 คัดกรองสตรีกลุ่มเสี่ยงที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 97.50 กิจกรรมที่ 2 อบรมเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแก่สตรีกลุ่มเสี่ยง ผลการเข้าร่วมการอบรมมีความรู้ เพิ่มขึ้น จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 80 กิจกรรมที่ 3 ออกกำลังกายในกลุ่มสตรีน้ำหนักเกินเกณฑ์
    ผลการดำเนินกิจกรรม กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเฉลี่ย  34 คน คิดเป็นร้อยละ 85
    สิ่งที่ได้เรียนรู้ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายอย่างถูกวิธี
    สิ่งที่ประทับใจ สำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมการออกกำลังกาย คือ การมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความร่าเริง  แจ่มใสเมื่อได้ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นหมู่คณะ เป็นการผ่อนคลายความเครียดได้ ปัญหา/อุปสรรค กิจกรรมจัดในช่วงเดือนรอมฎอนและพวกชาวบ้านจำนวนหนึ่งไปประกอบพิธีฮัจยี บางวันฝนตก สถานที่ไม่เอื้อต่อการทำกิจกรรม

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1.ให้ความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกบริโภคอาหารของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
    ตัวชี้วัด : - ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 80

     

    2 2. ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มสตรีที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์
    ตัวชี้วัด : - กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยร้อยละ 80

     

    3 3. กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักได้
    ตัวชี้วัด : - ผู้เข้าร่วมกิจกรรม มีค่าดัชนีมวลกายลดลงอย่างน้อย ร้อยละ 50

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 40
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ให้ความรู้ที่ถูกต้องในการเลือกบริโภคอาหารของตนเองและสมาชิกในครอบครัว (2) 2. ส่งเสริมการออกกำลังกายในกลุ่มสตรีที่มีภาวะน้ำหนักเกินเกณฑ์ (3) 3. กลุ่มเป้าหมายสามารถลดน้ำหนักได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสตรีบ้านทุ่งวิมาน หุ่นดี หุ่นสวย ด้วยการเลือกบริโภคและออกกำลังกาย จังหวัด สตูล

    รหัสโครงการ 60-L5307-2-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปิ่นอนงค์ สาเล๊ะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด