กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.จัดประชุมตัวแทนเพื่อระดมความคิดผู้เกี่ยวข้องได้แก่  อสม.,  ครู,  นายก อบต. ดุซงญอ, สมาชิก อบต. ดุซงญอ,  ผู้นำศาสนาของทุกหมู่บ้าน,  แกนนำหมู่บ้าน, กลุ่มสตรี  และปลัดตำบลดุซงญอ  มาร่วมรับรู้ปัญหาร่วมกัน  ร่วมวางแผนกิจกรรม  ร่วมปฏิบัติและประเมินผล 2. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ดุซงญอ 3. จัดกิจกรรมรณรงค์คว่ำกะลา กระป๋อง  ภาชนะแตกหักที่อาจกักเก็บน้ำได้ควรได้รับการกำจัดทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ในหมู่บ้านและโรงเรียนเป้าหมาย  เช่น               -  โอ่งน้ำ ใช้วิธีปิดฝาให้มิดชิด               -  อ่างบัว  ใช้วิธีใส่ปลากินลูกน้ำ               -  ยางรถยนต์เก่า  ใช้วิธีปกปิด หรือดัดแปลงให้น้ำขังไม่ได้               -  แจกัน ใช้วิธีเปลี่ยนน้ำทุก ๗ วัน               -  จานรองกระถางต้นไม้  ใช้วิธีใส่ทรายธรรมดาให้ลึก 3 ใน 4  ส่วนของจาน               -  จานรองขาตู้กับข้าว ใช้วิธีเติมน้ำเดือดทุก ๗ วัน 4. จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์  การป้องกันโรคไข้เลือดออกโดยใช้รถประชาสัมพันธ์หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านและที่มัสยิด 5. จัดกิจกรรมรณรงค์  โดยเน้นความร่วมมือของชุมชนในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกศุกร์ของสัปดาห์ 6. กิจกรรมพัฒนาศักยภาพคน  ชุมชน  อาสาสมัครสาธารณสุข  ผู้นำศาสนา  เพื่อสร้างองค์กรชุมชนให้เข้มแข็ง  มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของชุมชน  โดยการอบรมแบบมีส่วนร่วมในกลุ่ม  อสม.,  แกนนำชุมชน  และผู้นำศาสนา 7. จัดอบรมให้ความรู้โรคไข้เลือดออกให้แกนนำนักเรียน 8. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้กับอสม. ก่อนออกปฏิบัติในพื้นที่เพื่อรงณรงค์ป้องกันไข้เลือดออกให้แก่ประชาชน 9. กิจกรรมทำลายยุงตัวแก่โดยการพ่นหมอกควันหรือละอองฝอยในชุมชนในเขตรับผิดชอบ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง

 

2 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้
ตัวชี้วัด : 2.ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

3 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3.ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

4 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา
ตัวชี้วัด : 4.ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง

 

5 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 5.หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่

 

6 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 6695
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 6,695
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ประชาชนในตำบลดุซงญอมีอัตราการป่วยด้วยไข้เลือดออกไม่เกิน 50 ต่อแสนประชากร (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนเห็นความสำคัญของการคว่ำกะลาคว่ำกระป๋องยางรถยนต์และวัสดุที่แตกหักเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออกได้ (3) 3. เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันโรคไข้เลือดออก (4) 4. เพื่อเฝ้าระวัง วิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยา (5) 5. เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สุขศึกษาเรื่องไข้เลือดออก (6) 6. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชนให้ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh