โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ ”
หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล)
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ
ที่อยู่ หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล)
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมาลาเรียพบมากในเขตพื้นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมที่ทำให้เชื้อแบ่งตัวได้แก่ เขตร้อนแต่การกระจายของเชื้อโรคอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากโลกมีอุณหภูมิเพิ่มมากขึ้น และการเคลื่อนย้ายของประชากร สำหรับประเทศไทยจะพบเชื้อได้ทั่วไป ยกเว้นกรุงเทพฯ เชื้อมีมากในป่าเขาในจังหวัดตามแนวชายแดนของประเทศไทยพบว่ามีเชื้อ พี.ฟาลซิปารัม (P.falciparum) 70%พี.ไวแวกซ์ (P.vivax) 50% ตัวพาหะที่นำโรคมาลาเรียคือยุงก้นปล่อง (ตัวเมีย) ซึ่งเรียกอย่างนี้เพราะว่าเวลาที่ยุงกัดคน มันจะเกาะโดยยกก้นขึ้นทำมุมกับผิวหนัง 45 องศา ในเมืองไทยพบยุงก้นปล่องที่สำคัญ 2 ชนิด คือ
1.Anopheles Dirusพบในป่าทึบ ชอบวางไข่ตามแอ่งน้ำนิ่งขังตามธรรมชาติ เช่น แอ่งหินในป่าทึบ นิสัยชอบกัดเลือดคน มากกว่าสัตว์อื่น ออกหากินตอนดึกถึงเช้ามืด และไม่ชอบเกาะฝาบ้าน
2.Anopheles Minimusพบตามชายป่า ชอบวางไข่ในลำธาร น้ำใสไหลเอื่อยๆ หลังจากกัดคน
แล้วจะเกาะที่ฝาบ้าน แต่ในปัจจุบันมีการปรับตัวคือหลังจากกัดคนแล้วจะไม่เกาะฝาบ้านและจะกัดคนนอกบ้านมากขึ้น โดยเฉพาะตอนหัวค่ำ
ไข้มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านจังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดหนึ่งซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซียซึ่งแต่ละปีจะมีการอพยพเคลื่อนย้ายของประชากรประกอบกับประชาชนที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดนมีอาชีพเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้มาลาเรียและสภาพพื้นที่ตามแนวชายแดนเอื้อต่อการระบาดของโรคมาลาเรีย
จากรายงานระบาดวิทยา ของ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ ๑๒.๔ จังหวัดนราธิวาส สถานการณ์ไข้มาลาเรียของจังหวัดนราธิวาส ปีพ.ศ.๒๕๕9พบผู้ป่วย396 ราย อัตราป่วย 50.91 ต่อแสนประชากรอำเภอจะแนะพบผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 87 คน คิดเป็น 233.27 ต่อแสนประชากร ตำบลดุซงญอพบผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน๑๒คนคิดเป็น 126.57 ต่อแสนประชากรจะพบในหมู่ที่ ๔ บ้านรือเปาะ เป็นพื้นที่ที่พบไข้มาลาเรียซ้ำซาก ( Hard core )
เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นป่าเขา และประชาชนประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับป่าเป็นส่วนใหญ่และมีการป้องกันตนเองไม่ดีเท่าที่ควร จึงทำให้มีการระบาดของโรคมาลาเรียกระจายในตำบลดุซงญอจากการสอบสวนโรคผู้ป่วย พบว่าส่วนมากตอนกลางคืนไม่นอนกลางมุ้ง ยังไม่มีการป้องกันตัวเองด้วยวิธีอื่นดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรียหมู่ที่ 4 (กลุ่มลาแล) ตำบลดุซงญอประจำปีงบประมาณพ.ศ.2560ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
- 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย
- 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง
2.มีการประสานงานระหว่างองค์กรภาครัฐ,ชุมชนและในการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรียส่งผล
ให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่
- ประชาชนมีความรู้และเข้าใจในการป้องกันโรคมาลาเรีย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมพ่นยาฆ่ายุงป้องกันไข้มาลาเรียในหมู่บ้าน
วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดประชุม อสม.และองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
- จัดทำป้ายประชาสัมพีนธ์ และแผ่นพับโรคมาลาเรีย
- ออกหน่วยแพทย์ให้บริการรักาาพยาบาลเบื้องต้นและเจะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดยหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ฯ และ อสม
- ทำการพ่นเคมีฆ่ายุวก้นปล่องที่เป็นสาเหตุให้เกิดไข้มาลาเรีย
- สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงกัด
- อสม.ดำเนินกิจกรรมป้องกันการระบาดของโรคในหมู่บ้านเป้าหมาย
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดส่งรายงานผลการดำเนินโครงการ
1,559
1,559
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดประชุม อสม.และองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
- จัดทำป้ายประชาสัมพีนธ์ และแผ่นพับโรคมาลาเรีย
- ออกหน่วยแพทย์ให้บริการรักาาพยาบาลเบื้องต้นและเจะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดยหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ฯ และ อสม
- ทำการพ่นเคมีฆ่ายุวก้นปล่องที่เป็นสาเหตุให้เกิดไข้มาลาเรีย
- สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงกัด
- อสม.ดำเนินกิจกรรมป้องกันการระบาดของโรคในหมู่บ้านเป้าหมาย
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดส่งรายงานผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง
2
2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 2.มีการประสานงานระหว่างองค์กรภาครัฐ,ชุมชนและในการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรียส่งผล
ให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่
3
3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ตัวชี้วัด :
4
4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย
ตัวชี้วัด :
5
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่ (3) 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (4) 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย (5) 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ ”
หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล)
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
กันยายน 2560
ที่อยู่ หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล)
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 4 บ้านรือเปาะ (กลุ่มลาแล) รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคมาลาเรียพบมากในเขตพื้นที่มีอุณหภูมิเหมาะสมที่ทำให้เชื้อแบ่งตัวได้แก่ เขตร้อนแต่การกระจายของเชื้อโรคอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากโลกมีอุณหภูมิเพิ่มมากขึ้น และการเคลื่อนย้ายของประชากร สำหรับประเทศไทยจะพบเชื้อได้ทั่วไป ยกเว้นกรุงเทพฯ เชื้อมีมากในป่าเขาในจังหวัดตามแนวชายแดนของประเทศไทยพบว่ามีเชื้อ พี.ฟาลซิปารัม (P.falciparum) 70%พี.ไวแวกซ์ (P.vivax) 50% ตัวพาหะที่นำโรคมาลาเรียคือยุงก้นปล่อง (ตัวเมีย) ซึ่งเรียกอย่างนี้เพราะว่าเวลาที่ยุงกัดคน มันจะเกาะโดยยกก้นขึ้นทำมุมกับผิวหนัง 45 องศา ในเมืองไทยพบยุงก้นปล่องที่สำคัญ 2 ชนิด คือ
1.Anopheles Dirusพบในป่าทึบ ชอบวางไข่ตามแอ่งน้ำนิ่งขังตามธรรมชาติ เช่น แอ่งหินในป่าทึบ นิสัยชอบกัดเลือดคน มากกว่าสัตว์อื่น ออกหากินตอนดึกถึงเช้ามืด และไม่ชอบเกาะฝาบ้าน
2.Anopheles Minimusพบตามชายป่า ชอบวางไข่ในลำธาร น้ำใสไหลเอื่อยๆ หลังจากกัดคน
แล้วจะเกาะที่ฝาบ้าน แต่ในปัจจุบันมีการปรับตัวคือหลังจากกัดคนแล้วจะไม่เกาะฝาบ้านและจะกัดคนนอกบ้านมากขึ้น โดยเฉพาะตอนหัวค่ำ
ไข้มาลาเรียยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขโดยเฉพาะพื้นที่ที่มีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านจังหวัดนราธิวาสเป็นจังหวัดหนึ่งซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศมาเลเซียซึ่งแต่ละปีจะมีการอพยพเคลื่อนย้ายของประชากรประกอบกับประชาชนที่อาศัยอยู่ตามแนวชายแดนมีอาชีพเสี่ยงต่อการติดเชื้อไข้มาลาเรียและสภาพพื้นที่ตามแนวชายแดนเอื้อต่อการระบาดของโรคมาลาเรีย
จากรายงานระบาดวิทยา ของ ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ ๑๒.๔ จังหวัดนราธิวาส สถานการณ์ไข้มาลาเรียของจังหวัดนราธิวาส ปีพ.ศ.๒๕๕9พบผู้ป่วย396 ราย อัตราป่วย 50.91 ต่อแสนประชากรอำเภอจะแนะพบผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน 87 คน คิดเป็น 233.27 ต่อแสนประชากร ตำบลดุซงญอพบผู้ป่วยทั้งหมดจำนวน๑๒คนคิดเป็น 126.57 ต่อแสนประชากรจะพบในหมู่ที่ ๔ บ้านรือเปาะ เป็นพื้นที่ที่พบไข้มาลาเรียซ้ำซาก ( Hard core )
เนื่องจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติส่วนใหญ่เป็นป่าเขา และประชาชนประกอบอาชีพเกี่ยวข้องกับป่าเป็นส่วนใหญ่และมีการป้องกันตนเองไม่ดีเท่าที่ควร จึงทำให้มีการระบาดของโรคมาลาเรียกระจายในตำบลดุซงญอจากการสอบสวนโรคผู้ป่วย พบว่าส่วนมากตอนกลางคืนไม่นอนกลางมุ้ง ยังไม่มีการป้องกันตัวเองด้วยวิธีอื่นดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอได้บูรณาการร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลดุซงญอ จึงจัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้มาลาเรียหมู่ที่ 4 (กลุ่มลาแล) ตำบลดุซงญอประจำปีงบประมาณพ.ศ.2560ขึ้นเพื่อควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง
- 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
- 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
- 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย
- 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง 2.มีการประสานงานระหว่างองค์กรภาครัฐ,ชุมชนและในการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรียส่งผล ให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่
- ประชาชนมีความรู้และเข้าใจในการป้องกันโรคมาลาเรีย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมพ่นยาฆ่ายุงป้องกันไข้มาลาเรียในหมู่บ้าน |
||
วันที่ 1 เมษายน 2560 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1,559 | 1,559 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดประชุม อสม.และองค์กรที่เกี่ยวข้องในพื้นที่
- จัดทำป้ายประชาสัมพีนธ์ และแผ่นพับโรคมาลาเรีย
- ออกหน่วยแพทย์ให้บริการรักาาพยาบาลเบื้องต้นและเจะเลือดค้นหาเชื้อมาลาเรียโดยหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ฯ และ อสม
- ทำการพ่นเคมีฆ่ายุวก้นปล่องที่เป็นสาเหตุให้เกิดไข้มาลาเรีย
- สนับสนุนการใช้ผลิตภัณฑ์ป้องกันยุงกัด
- อสม.ดำเนินกิจกรรมป้องกันการระบาดของโรคในหมู่บ้านเป้าหมาย
- สรุปผลการดำเนินงานโครงการจัดส่งรายงานผลการดำเนินโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในการป้องกันตนเองและครอบครัวส่งผลให้อัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียลดลง |
|
|||
2 | 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่ ตัวชี้วัด : 2.มีการประสานงานระหว่างองค์กรภาครัฐ,ชุมชนและในการควบคุมป้องกันไข้มาลาเรียส่งผล ให้ลดการแพร่กระจายของโรคในทุกพื้นที่ |
|
|||
3 | 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนพื้นที่กลุ่มเป้าหมายมีเครื่องมือป้องกันตนเองจากไข้มาลาเรียที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคมาลาเรียร้อยละ 20 /ปี
5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่ (3) 3. เพื่อให้การประสานงานในการควบคุมป้องกันโรคมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น (4) 4. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคไข้มาลาเรีย (5) 5. ลดการแพร่ระบาดของยุงก้นปล่องที่เป็นพาหะนำโรค ฯ ในพื้นที่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการควบคุมป้องกันโรคไข้มาลาเรีย หมู่ที่ 4 ตำบลดุซงญอ จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......