โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ”
ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
หัวหน้าโครงการ
1. นายเผดื่อง รักษศรี ประธานชมรมผู้สูงอายุ 2. นางคนึงจิต อร่ามเรือง เลขานุการชมรมผู้สูงอายุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
ที่อยู่ ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L8291-3-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว รหัสโครงการ 60-L8291-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,616.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้ศึกษาโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุเริ่มจะมีอายุยืนยาวมากขึ้น และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีถือเป็นการก้าวขึ้นเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว อีกทั้งในปัจจุบันชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาวมีสมาชิกทั้งหมด 200 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุขึ้น เพราะตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดแนวโน้วการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เริ่มปรากฎขึ้นในเขตเทศบาล และจำนวนผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและมีปัญหาด้านสุขภาพจิตภาวะซึมเศร้าจากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพยงลำพัง ผู้สูงอายุเหล่านี้จะได้ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองและสุขภาพผู้สูงอายุด้วยกัน
การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุ โดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง มีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุด
โรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ ที่จะเอาความเหงา ความเศร้า ความทุกข์ มาปลดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนเช่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจ ต้องการความอบอุ่นต้องการพูดคุย ทางชมรมผู้สูงอายุฯ จึงได้เห็นฟ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานีที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน โดยจัดตั้งขึ้นเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีจิตใจแจ่มใส
- ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุเกิดความรัก ความสามัคคี มีการเอื้ออาทรในชมรม
- ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ค่าสื่อประชาสัมพันธ์ป้ายไวนิล
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีป้ายไวนิลสำหรับจัดโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
0
0
2. จัดซื้อครุภัณฑ์ในกิจกรรม
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
มีโต๊ะพับและเก้าอี้สำหรับใช้ในการทำกิจกรรมโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
0
0
3. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหารเป็นยา (สมุนไพร)
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องอาหารเป็นยา (สมุนไพร)
60
134
4. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพัฒนาทักษะทางดนตรีในผู้สูงอายุ (รำวงมาตรฐานกลองยาว)
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้ร่วมกิจกรรมได้พัฒนาทักษะทางดนตรี (รำวงมาตรฐานกลองยาว)
60
112
5. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายอย่างไรให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง (ขยับกาย คลายกล้ามเนื้อ)
วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัยมากขึ้น
60
115
6. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องทักษะการรักษาสุขภาพ โดยแพทย์แผนไทย (การนวดบรรเทาปวด)
วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับทักษะการรักษาสุขภาพ (โดยแพทย์แผนไทย การนวดบรรเทาปวด)มากขึ้น
60
86
7. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (จิตสบาย ใจผ่อนคลาย ด้วยธรรมะ)
วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะ เพื่อใช้เป็นหลักในการดำรงชีวิตประจำวัน
60
91
8. กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ)
วันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการดูแลสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า
60
71
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจทั้ง 5 ชุมชน ร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
2
2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : 2. ผลสรุปจากแบบประเมินความรู้ด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
3. ผลสรุปจากแบบประเมินความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L8291-3-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( 1. นายเผดื่อง รักษศรี ประธานชมรมผู้สูงอายุ 2. นางคนึงจิต อร่ามเรือง เลขานุการชมรมผู้สูงอายุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ”
ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
หัวหน้าโครงการ
1. นายเผดื่อง รักษศรี ประธานชมรมผู้สูงอายุ 2. นางคนึงจิต อร่ามเรือง เลขานุการชมรมผู้สูงอายุ
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L8291-3-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว " ดำเนินการในพื้นที่ ณ ชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว รหัสโครงการ 60-L8291-3-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,616.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลย่านตาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้ศึกษาโครงสร้างประชากรผู้สูงอายุเริ่มจะมีอายุยืนยาวมากขึ้น และมีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีถือเป็นการก้าวขึ้นเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว อีกทั้งในปัจจุบันชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาวมีสมาชิกทั้งหมด 200 คน ดังนั้นเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมทางชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว ได้จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุขึ้น เพราะตระหนักถึงผลกระทบที่เกิดแนวโน้วการเปลี่ยนแปลงประชากรที่เริ่มปรากฎขึ้นในเขตเทศบาล และจำนวนผู้สูงอายุที่ป่วยเป็นโรคเรื้อรังและมีปัญหาด้านสุขภาพจิตภาวะซึมเศร้าจากการถูกทอดทิ้งให้อยู่เพยงลำพัง ผู้สูงอายุเหล่านี้จะได้ผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การมีส่วนร่วมในการกำหนดยุทธศาสตร์ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการพัฒนาให้ผู้สูงอายุมีความสามารถในการดูแลรักษาสุขภาพตนเองและสุขภาพผู้สูงอายุด้วยกัน การจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ เป็นหนึ่งในแนวทางการแก้ปัญหาดังกล่าวและเป็นประเด็นที่ถูกหยิบยกขึ้นมาคุยกันถึงปัญหาโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุ โดยเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพัง มีภาระค่าใช้จ่ายสูง ฐานะยากจน และขาดโอกาสจนส่งผลนำไปสู่การทำร้ายตัวเองในที่สุด โรงเรียนผู้สูงอายุจึงทำหน้าที่เหมือนสวนสาธารณะทางอารมณ์ ที่จะเอาความเหงา ความเศร้า ความทุกข์ มาปลดปล่อยและมารับรอยยิ้มจากเพื่อนเช่นเดียวกันและบางครั้งผู้สูงอายุต้องการกำลังใจ ต้องการความอบอุ่นต้องการพูดคุย ทางชมรมผู้สูงอายุฯ จึงได้เห็นฟ้องต้องกันว่าควรที่จะมีสถานีที่ให้ผู้สูงอายุได้พบปะกัน โดยจัดตั้งขึ้นเป็นโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
- 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 200 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีจิตใจแจ่มใส
- ลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ
- ผู้สูงอายุเกิดความรัก ความสามัคคี มีการเอื้ออาทรในชมรม
- ผู้สูงอายุสามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ค่าสื่อประชาสัมพันธ์ป้ายไวนิล |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีป้ายไวนิลสำหรับจัดโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
|
0 | 0 |
2. จัดซื้อครุภัณฑ์ในกิจกรรม |
||
วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นมีโต๊ะพับและเก้าอี้สำหรับใช้ในการทำกิจกรรมโครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว
|
0 | 0 |
3. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องอาหารเป็นยา (สมุนไพร) |
||
วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องอาหารเป็นยา (สมุนไพร)
|
60 | 134 |
4. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมพัฒนาทักษะทางดนตรีในผู้สูงอายุ (รำวงมาตรฐานกลองยาว) |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้ร่วมกิจกรรมได้พัฒนาทักษะทางดนตรี (รำวงมาตรฐานกลองยาว)
|
60 | 112 |
5. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายอย่างไรให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพแข็งแรง (ขยับกาย คลายกล้ามเนื้อ) |
||
วันที่ 10 เมษายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้เรื่องการออกกำลังกายที่ถูกต้องและเหมาะสมกับวัยมากขึ้น
|
60 | 115 |
6. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมให้ความรู้ เรื่องทักษะการรักษาสุขภาพ โดยแพทย์แผนไทย (การนวดบรรเทาปวด) |
||
วันที่ 31 พฤษภาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับทักษะการรักษาสุขภาพ (โดยแพทย์แผนไทย การนวดบรรเทาปวด)มากขึ้น
|
60 | 86 |
7. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต (จิตสบาย ใจผ่อนคลาย ด้วยธรรมะ) |
||
วันที่ 23 มิถุนายน 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ความรู้เกี่ยวกับธรรมะ เพื่อใช้เป็นหลักในการดำรงชีวิตประจำวัน
|
60 | 91 |
8. กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมดูแลสุขภาพ (ประเมินคัดกรองภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ) |
||
วันที่ 14 กรกฎาคม 2560 เวลา 13:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการดูแลสุขภาพและคัดกรองภาวะซึมเศร้า
|
60 | 71 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพของตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน
- เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน ตัวชี้วัด : 1. ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจทั้ง 5 ชุมชน ร่วมกิจกรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของสมาชิกชมรมผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้ ตัวชี้วัด : 2. ผลสรุปจากแบบประเมินความรู้ด้านสุขภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 3. ผลสรุปจากแบบประเมินความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างพื้นที่และโอกาสให้ผู้สูงอายุ ผู้ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในการพัฒนาความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเองและผู้สูงอายุด้วยกัน (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ที่สนใจได้รับความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อดูแลสุขภาพตนเองอย่างถูกวิธีและถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้อื่นได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลย่านตาขาว จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 60-L8291-3-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( 1. นายเผดื่อง รักษศรี ประธานชมรมผู้สูงอายุ 2. นางคนึงจิต อร่ามเรือง เลขานุการชมรมผู้สูงอายุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......