โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอซีดะห์ ยูโซ๊ะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา
เมษายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3035-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2561 ถึง 11 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3035-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2561 - 11 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด นับเป็นวิกฤติสำคัญที่ได้ส่งผลสืบเนื่องให้เกิดปัญหาสังคมนานัปการ บั่นทอนคุณภาพชีวิตและความสงบร่มเย็นของผู้คนในสังคมอย่างต่อเนื่องตลอดมาทรัพยากรบุคคลของประเทศจำนวนไม่น้อยยังมีส่วนเกี่ยวพันและได้รับผลกระทบจากยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่ถือเป็นกำลังสำคัญของชาติ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ายังคงมีเด็กและเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพประชากรและการพัฒนาประเทศอันหมายถึงการบั่นทอนความเจริญ ความผาสุกและความมั่นคงของชาติอย่างมหาศาลในอนาคตทั้งนี้ โครงการนี้ได้เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงพลังในการเฝ้าระวังและร่วมต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีส่วนร่วมรณรงค์ให้เด็กและเยาวชนแสดงความจงรักภักดีด้วยการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อให้ประเทศไทยปลอดจากยาเสพติดสืบไป
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557ข้อ7เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ(1 )เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
กองสาธารณสุของค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา จัดทำโครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา เพื่อเสริมสร้างเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกัน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาเพื่อเอาชนะอบายมุขได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนรู้จักป้องกัน เฝ้าระวังไม่ให้มีการแพร่ระบาดของอบายมุข
เด็กและเยาวชน สามารถแก้ไขปัญหาอบายมุขในตำบลสะดาวา
เด็กและเยาวชน มีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
วันที่ 11 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ
1.กิจกรรมละลายพฤติกรรม 2. กิจกรรมปฏิบัติศาสนกิจ 3. กิจกรรมออกกำลังกาย 4. กิจกรรมแบ่งกลุ่มการเรียนรู้ 5. กิจกรรมอบรม 6. กิจกรรมสรุป
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เกิดการละลายพฤติกรรมระหว่างเยาวชนในแต่ละชุมของของตำบลสะดาวา สร้างความคุ้นเคยระหว่างกันโดยการทำกิจกรรมการเรียนรู้และปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน เยาวชนได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม อีกทั้งได้ฝึกทักษะการทำงานเป็นทีมและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
110
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการประสบความสำเร็จ เนื่องจากมีการประชาสัมพันธ์โครงการที่ดี และเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา เยาวชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี วิทยากรให้ความรู้ตรงวัตถุประสงค์และน่าสนใจ อีกทั้งยังมีกิจกรรมนันทนาการเพื่อละลายพฤติกรรมและสร้างความคุ้นเคยระหว่างเยาวชนที่หลากหลาย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน)
50.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
110
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
110
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3035-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรอซีดะห์ ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา ”
ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรอซีดะห์ ยูโซ๊ะ
เมษายน 2561
ที่อยู่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3035-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 เมษายน 2561 ถึง 11 เมษายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะดาวา อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 61-L3035-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 เมษายน 2561 - 11 เมษายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะดาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติด นับเป็นวิกฤติสำคัญที่ได้ส่งผลสืบเนื่องให้เกิดปัญหาสังคมนานัปการ บั่นทอนคุณภาพชีวิตและความสงบร่มเย็นของผู้คนในสังคมอย่างต่อเนื่องตลอดมาทรัพยากรบุคคลของประเทศจำนวนไม่น้อยยังมีส่วนเกี่ยวพันและได้รับผลกระทบจากยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่ถือเป็นกำลังสำคัญของชาติ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ายังคงมีเด็กและเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพประชากรและการพัฒนาประเทศอันหมายถึงการบั่นทอนความเจริญ ความผาสุกและความมั่นคงของชาติอย่างมหาศาลในอนาคตทั้งนี้ โครงการนี้ได้เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงพลังในการเฝ้าระวังและร่วมต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีส่วนร่วมรณรงค์ให้เด็กและเยาวชนแสดงความจงรักภักดีด้วยการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติดเพื่อให้ประเทศไทยปลอดจากยาเสพติดสืบไป ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเรื่องการกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557ข้อ7เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนหรือส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ(1 )เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการหรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างสุขภาพการป้องกันโรคการฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุกลุ่มคนพิการกลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น กองสาธารณสุของค์การบริหารส่วนตำบลสะดาวา จัดทำโครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา เพื่อเสริมสร้างเด็กและเยาวชนให้มีภูมิคุ้มกัน ป้องกัน และแก้ไขปัญหาเพื่อเอาชนะอบายมุขได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เด็กและเยาวชนรู้จักป้องกัน เฝ้าระวังไม่ให้มีการแพร่ระบาดของอบายมุข เด็กและเยาวชน สามารถแก้ไขปัญหาอบายมุขในตำบลสะดาวา เด็กและเยาวชน มีสุขภาวะที่ดี เกิดความร่วมมือ และมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งส่งผลให้การดำรงชีวิตในสังคมเป็นไปอย่างปกติสุขด้วยความสมัครใจ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา |
||
วันที่ 11 เมษายน 2561กิจกรรมที่ทำ1.กิจกรรมละลายพฤติกรรม 2. กิจกรรมปฏิบัติศาสนกิจ 3. กิจกรรมออกกำลังกาย 4. กิจกรรมแบ่งกลุ่มการเรียนรู้ 5. กิจกรรมอบรม 6. กิจกรรมสรุป ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นเกิดการละลายพฤติกรรมระหว่างเยาวชนในแต่ละชุมของของตำบลสะดาวา สร้างความคุ้นเคยระหว่างกันโดยการทำกิจกรรมการเรียนรู้และปฏิบัติศาสนกิจร่วมกัน เยาวชนได้รับความรู้เรื่องยาเสพติดและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อม อีกทั้งได้ฝึกทักษะการทำงานเป็นทีมและการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
|
110 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
โครงการประสบความสำเร็จ เนื่องจากมีการประชาสัมพันธ์โครงการที่ดี และเป็นโครงการต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา เยาวชนกลุ่มเป้าหมายให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี วิทยากรให้ความรู้ตรงวัตถุประสงค์และน่าสนใจ อีกทั้งยังมีกิจกรรมนันทนาการเพื่อละลายพฤติกรรมและสร้างความคุ้นเคยระหว่างเยาวชนที่หลากหลาย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ตัวชี้วัด : จำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี ลดลงเหลือ(คน) |
50.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 110 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 110 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้เสพรายใหม่วัยเด็กและเยาวชนอายุไม่เกิน 25 ปี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการค่ายพัฒนาทักษะชีวิต เอาชนะอบายมุขของเยาวชนตำบลสะดาวา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 61-L3035-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรอซีดะห์ ยูโซ๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......