กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล




ชื่อโครงการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 เมษายน 2561 ถึง 15 กันยายน 2561

กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE)



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 เมษายน 2561 - 15 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 92,690.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

“ยาเสพติด” ถือเป็นปัญหาใหญ่ของสังคมและเป็นปัญหาสำคัญของประเทศ ที่ต้องได้รับการแก้ไข อย่างจริงจัง ทั้งนี้เพราะปัญหายาเสพติดที่มีการแพร่ระบาดในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ได้ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกขณะ ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โครงการ TO BE NUMBER ONE ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญาสิริวัฒนาพรรณวดี ถือเป็นโครงการหนึ่งที่ประสบความสำเร็จในการรณรงค์ป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในปัจจุบัน โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เป็นโครงการหนึ่งที่ได้ดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือเยาวชนอายุ ๖ – ๒๔ ปี มียุทธศาสตร์สำคัญ 3 ยุทธศาสตร์ คือ ๑. การรณรงค์ปลุกจิตสำนึกและสร้างกระแสนิยมที่เอื้อต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยสร้างความตระหนักในการ “เป็นหนึ่ง โดยไม่พึ่งยาเสพติด” ผ่านสื่อและกลยุทธ์ต่างๆ
๒. การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจให้แก่เยาวชน โดยการอบรมแกนนำเยาวชนในการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มวัยรุ่นและเยาวชน ให้มีความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาพัฒนาอีคิว และสามารถป้องกันตนเองจากยาเสพติด รวมถึงการดูแลและช่วยเหลือ และเฝ้าระวังเยาวชนกลุ่มเสี่ยงทั้งในและนอกสถานศึกษา ๓. การสร้างและขยายเครือข่ายเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยการสนับสนุนให้มีการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE และเป็นพี่เลี้ยงใน ศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE โดยกิจกรรมของศูนย์เพื่อนใจ TO BE NUMBER ONE มุ่งเน้นการให้คำปรึกษา เพิ่มทักษะและการแก้ปัญหาและพัฒนาอีคิว เพื่อเสริมสร้างคุณค่าในตนเอง เป็นกิจกรรมระบบเปิดที่เยาวชนเข้าร่วมได้เมื่อสะดวกและไม่คิดค่าบริการ
จากปัญหายาเสพติดหากไม่ได้รับการป้องกันและแก้ไข ในอนาคตอาจทำให้กลายเป็นปัญหาเรื้อรัง ยากต่อการแก้ไขได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของเยาวชนที่กำลังเติบโตเป็นกำลังที่สำคัญของประเทศชาติ หากเยาวชนในปัจจุบันเป็นคนไม่มีคุณภาพ ก็จะส่งผลให้เกิดปัญหาของสังคมได้ในที่สุด เพื่อการป้องกันปัญหายาเสพติด และสร้างภูมิต้านทาน เป็นหนึ่งโดยไม่พึ่งยาเสพติด ฝ่ายป้องกันและควบคุมโรค สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำ โครงการ TO BE NUMBER ONE ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อสร้างกระแสนิยมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด
  2. ๒. เพื่อสนับสนุนเยาวชนให้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม
  3. ๓. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน
  4. ๔. เพื่อจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดทำโครงการและเสนอต่อผู้บริหาร
  2. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน
  3. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์
  4. กิจกรรมประชุมเตรียมงาน ชี้แจงโครงการฯให้กับผู้บริหารโรงเรียนและศูนย์บริการสาธารณสุขที่อยู่ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่
  5. กิจกรรมจัดอบรมเตรียมความพร้อมจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เกิดกระแสค่านิยมและสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านจิตใจในกลุ่มเยาวชน ในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด ๒. เยาวชนมีความรู้เกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้และนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ๓. มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ และมีการดำเนินกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ๔. เกิดความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนให้เข้มแข็งและสามารถขยายเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดทำโครงการและเสนอต่อผู้บริหาร

วันที่ 22 มีนาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

นำเสนอโครงการกรรมการกองทุนฯ อนุมัติโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการได้รับการอนุมัติ

 

0 0

2. จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน

วันที่ 2 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ปฏิบัติตามกิจกรรมที่วางแผนไว้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ปฏิบัติตามกิจกรรมที่วางแผนไว้

 

0 0

3. กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์

วันที่ 2 เมษายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

  1. มอบป้ายชมรม TO BE NUMBER ONE ขนาด 0.60 × 2 เมตร ให้กับโรงเรียนทั้ง ๖ แห่ง

  2. ชุดคู่มือสมาชิก TO BE NUMBER ONE

  3. จัดทำสปอตโฆษณาโครงการให้กับโรงเรียนทั้ง 6 โรง และใช้เป็นสื่อประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีชมรม TO BE NUMBER ONE ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ และมีการดำเนินกิจกรรมอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน

 

0 0

4. กิจกรรมประชุมเตรียมงาน ชี้แจงโครงการฯให้กับผู้บริหารโรงเรียนและศูนย์บริการสาธารณสุขที่อยู่ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่

วันที่ 15 มิถุนายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

เกิดความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดในกลุ่มเยาวชนให้เข้มแข็งและสามารถขยายเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมอบรมเตรียมความพร้อมจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE วันที่ 24 กรกฏาคม 2561

 

30 0

5. กิจกรรมจัดอบรมเตรียมความพร้อมจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE

วันที่ 24 กรกฎาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ตารางการอบรม

กำหนดการอบรมการเตรียมความพร้อมจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE

    ณ ห้องประชุมสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

          วันที่ 24 กรกฏาคม 2561

    ช่วงเวลา                                    กิจกรรม

08.30 น. - 09.00 น. • ลงทะเบียน

09.00 น. - 09.45 น. • พิธีเปิด มอบนโยบาย TO BE NUMBER ONE และมอบป้าย TO BE NUMBER ONE โดยท่านนายกเทศมนตรีนครหาดใหญ่

09.45 น. - 10.00 น. • แนวทางการจัดตั้งและดำเนินงาน ชมรม TO BE NUMBER ONE โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขสงขลา

10.00 น. - 10.15 น. • พักรับประทานอาหารว่าง

10.15 น. - 12.00 น. • การพัฒนาภาวะผู้นำแกนนำชมรม TO BE NUMBER ONE โดยวิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขสงขลา

12.00 น. - 13.00 น. • พักรับประทานอาหารกลางวัน

13.00 น. - 14.30 น. • แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE โดยวิทยากรจากชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนนาทวีวิทยาคมและวิทยาลัย
                              เทคโนโลยีหาดใหญ่

14.30 น. - 14.45 น. • พักรับประทานอาหารว่าง

14.45 น. - 15.15 น. • แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE โดยวิทยากรจากชมรม TO BE NUMBER ONE โรงเรียนนาทวีวิทยาคมและวิทยาลัย
                              เทคโนโลยีหาดใหญ่

15.15 น. - 16.00 น. • อภิปรายและซักถามการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER ONE

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้รับผิดชอบ  และนักเรียนที่จะเป็นแกนนำโครงการดังกล่าวในโรงเรียน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง 1.  แนวทางการจัดตั้งและดำเนินงาน ชมรม TO BE NUMBER  ONE 2.  การพัฒนาภาวะผู้นำแกนนำชมรม TO BE NUMBER  ONE 3.  แลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการดำเนินงานชมรม TO BE NUMBER  ONE

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อสร้างกระแสนิยมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมร้อยละ ๙๐ ตระหนักถึงโทษของยาเสพติด และมีทักษะในการป้องกันตนเองไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดได้
0.00

 

2 ๒. เพื่อสนับสนุนเยาวชนให้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมร้อยละ ๙๐ ได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจสมาชิกชมรมร้อยละ ๖๐ มีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ การนำเสนอผลงานของชมรมด้วยความภาคภูมิใจ
0.00

 

3 ๓. เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : สมาชิกชมรมร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันยาเสพติด สมาชิกชมรมร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการป้องกันตนเองไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
0.00

 

4 ๔. เพื่อจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : โรงเรียนในสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ ทั้ง ๖ โรงเรียน มีชมรม TO BE NUMBER ONE
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.  เพื่อสร้างกระแสนิยมและเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจในกลุ่มเยาวชนไม่ให้ยุ่งเกี่ยวยาเสพติด (2) ๒.  เพื่อสนับสนุนเยาวชนให้จัดกิจกรรมสร้างสรรค์โดยการสนับสนุนของสังคม (3) ๓.  เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในเยาวชน (4) ๔.  เพื่อจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE ในพื้นที่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดทำโครงการและเสนอต่อผู้บริหาร (2) จัดทำแผนกิจกรรมดำเนินงาน (3) กิจกรรมสื่อสารและประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมประชุมเตรียมงาน ชี้แจงโครงการฯให้กับผู้บริหารโรงเรียนและศูนย์บริการสาธารณสุขที่อยู่ในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครหาดใหญ่ (5) กิจกรรมจัดอบรมเตรียมความพร้อมจัดตั้งชมรม TO BE NUMBER ONE

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด