เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2561
ชื่อโครงการ เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 526,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะร่างกาย จิตใจ แบ่งเป็น ๓ ระยะ ได้แก่วัยรุ่นตอนต้น (หญิง ๑๐ – ๑๔ ปี, ชาย ๑๒ – ๑๖ ปี) วัยรุ่นตอนกลาง (หญิง ๑๔ – ๑๘ ปี, ชาย ๑๖ – ๒๐ ปี) และวัยรุ่นตอนปลาย (หญิง ๑๖ – ๒๐ ปี, ชาย ๒๐ – ๒๒ ปี) ผลการสำรวจเด็กไทยกับสถานการณ์เด่นรอบปี ๒๕๕๑ พบว่าเยาวชนอายุ ๑๕ –๑๙ ปี ร้อยละ ๑๕ – ๔๓ เคยมีเพศสัมพันธ์ เพศชายพบมากกว่าเพศหญิง อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ คือ ๑๕.๕ ปี (เบญจพร ปัญญายง,๒๕๕๓) เด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จำนวนมากถึง ๓,๐๐๐ คนต่อปี ต้องกลายเป็นแม่ทั้งที่ยังขาดความพร้อมทุกด้าน ทุกวันมีวัยรุ่นไทยตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจวันละกว่า ๗๐๐ ราย และคลอด ๓๓๖ ราย (โครงการ Up to Me และสำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,๒๕๕๔) และมีการประมาณการว่าหญิงไทยยุติการตั้งครรภ์สูงถึงปีละ ๓๐๐,๐๐๐ ราย ในจำนวนดังกล่าวยืนยันว่ามีผู้หญิงที่ประสบปัญหาการติดเชื้ออย่างรุนแรงภายหลังการทำแท้ง ร้อยละ ๔๐ และอัตราการเสียชีวิตของผู้ทำแท้งมีถึง ๓๐๐ ต่อแสนประชากร (องค์การแพธ มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ, ๒๕๕๑) กรมควบคุมโรค (๒๕๕๒ อ้างในเบญจพร ปัญญายง,๒๕๕๓) พบว่าเยาวชนมีแนวโน้มการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นจาก ๒๓.๔ ต่อแสนประชากรเป็น ๓๔.๘ ต่อแสนประชากร นอกจากนี้ผลการศึกษาของศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค (๒๕๕๓) ยังพบว่าอัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี รายใหม่ของประเทศไทยเริ่มต้นและพบมากที่สุดในกลุ่มเยาวชน โดยกลุ่มอายุต่ำสุดที่ติดเชื้ออยู่ระหว่าง ๑๐ – ๑๔ ปี ร้อยละ ๑๑.๑ ของผู้ป่วยเอดส์ ร้อยละ ๓๑.๗ ของผู้ป่วยกามโรค และร้อยละ๓๐ ของผู้หญิงที่ทำแท้ง อยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี โดยผู้ติดเชื้อกว่าร้อยละ ๘๐ ในประเทศไทยได้รับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน รวมทั้งปัจจุบันพบว่าในกลุ่มอายุดังกล่าวมักมีปัญหา เรื่องการเสพยาเสพติดร่วมด้วย
ดังนั้น เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ เยาวชนหาดใหญ่ ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติดขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
- เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม
- เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง
- การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา
- เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ
- กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยการเจริญพันธุ์อย่างรอบด้าน และมีทักษะในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV ใช้ชีวิตที่ปลอดภัยและรับผิดชอบรวมทั้งไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งการเสพและการค้า
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ และทักษะในการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เรื่องเอดส์ เพศศึกษา อนามัยการเจริญพันธุ์ และเรื่องยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนที่สังกัด และในชุมชนของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ
วันที่ 31 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
- ติดต่อจองห้องประชุม
- ทำหนังสือขอเชิญตัวแทนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเข้าประชุมเพื่อแจ้งรายละเอียดและเตรียมความพร้อม
- ดำเนินกิจกรรมการประชุม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ผู้เข้าร่วมประชุมให้ความสนใจและสนับสนุนในกิจกรรมค่ายทักษะชีวิต
มีการกำหนดวันทำกิจกรรมที่ชัดเจน
รุ่นที่ 1 วันที่ 19 - 20 สิงหาคม 2561
รุ่นที่ 2 วันที่ 26 - 27 สิงหาคม 2561
100
0
2. กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต
วันที่ 19 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1. ประชุมตัวแทนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแจ้งรายละเอียดและเตรียมความพร้อม
2. ทำหนังสือแจ้งรายละเอียดโครงการแก่ทางโรงเรียนและต้องคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
3. ประสานทีมวิทยากรจากหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
4. ประสาน เรื่องอาคาร สถานที่ ในการจัดกิจกรรม
5. ประสานสถานที่ศึกษาดูงาน (ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดสงขลา)
6. จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ต้องใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ
7. ดำเนินกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยการเจริญพันธุ์อย่างรอบด้าน และมีทักษะในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV ใช้ชีวิตที่ปลอดภัยและรับผิดชอบรวมทั้งไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งการ เสพและการค้า
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ และทักษะในการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เรื่องเอดส์ เพศศึกษา อนามัยการเจริญพันธุ์ และเรื่องยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนที่สังกัด และในชุมชนของตนเองได้
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีความตระหนัก และมีทักษะในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์
2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
0.00
2
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ มีความเข้าใจ และมีเจตคติที่ถูกต้องเรื่องเพศ
0.00
3
เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องการป้องกันการเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร
2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์
0.00
4
เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด
2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการป้องกันตนเองจากการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทุกชนิด
0.00
5
เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์
0.00
6
การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ และ อยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานความรู้ที่ถูกต้อง และสามารถ นำความรู้ที่ได้รับสร้าง
การยอมรับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชนของตนเองได้
0.00
7
เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ สามารถบริหารจัดการเวลาว่างของตนเองให้เกิดประโยชน์โดยเลือกทำกิจกรรมตามความชอบได้อย่างเหมาะสม
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง (2) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น (3) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม (4) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต (5) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง (6) การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา (7) เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ (2) กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางจุลจิรา ธีรชิตกุล
สิงหาคม 2561
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-10 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561
กิตติกรรมประกาศ
"เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 526,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
วัยรุ่นเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงสภาวะร่างกาย จิตใจ แบ่งเป็น ๓ ระยะ ได้แก่วัยรุ่นตอนต้น (หญิง ๑๐ – ๑๔ ปี, ชาย ๑๒ – ๑๖ ปี) วัยรุ่นตอนกลาง (หญิง ๑๔ – ๑๘ ปี, ชาย ๑๖ – ๒๐ ปี) และวัยรุ่นตอนปลาย (หญิง ๑๖ – ๒๐ ปี, ชาย ๒๐ – ๒๒ ปี) ผลการสำรวจเด็กไทยกับสถานการณ์เด่นรอบปี ๒๕๕๑ พบว่าเยาวชนอายุ ๑๕ –๑๙ ปี ร้อยละ ๑๕ – ๔๓ เคยมีเพศสัมพันธ์ เพศชายพบมากกว่าเพศหญิง อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์ คือ ๑๕.๕ ปี (เบญจพร ปัญญายง,๒๕๕๓) เด็กอายุต่ำกว่า ๑๕ ปี จำนวนมากถึง ๓,๐๐๐ คนต่อปี ต้องกลายเป็นแม่ทั้งที่ยังขาดความพร้อมทุกด้าน ทุกวันมีวัยรุ่นไทยตั้งครรภ์โดยไม่ได้ตั้งใจวันละกว่า ๗๐๐ ราย และคลอด ๓๓๖ ราย (โครงการ Up to Me และสำนักกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ,๒๕๕๔) และมีการประมาณการว่าหญิงไทยยุติการตั้งครรภ์สูงถึงปีละ ๓๐๐,๐๐๐ ราย ในจำนวนดังกล่าวยืนยันว่ามีผู้หญิงที่ประสบปัญหาการติดเชื้ออย่างรุนแรงภายหลังการทำแท้ง ร้อยละ ๔๐ และอัตราการเสียชีวิตของผู้ทำแท้งมีถึง ๓๐๐ ต่อแสนประชากร (องค์การแพธ มูลนิธิสร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผู้หญิง และสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสมุทรปราการ, ๒๕๕๑) กรมควบคุมโรค (๒๕๕๒ อ้างในเบญจพร ปัญญายง,๒๕๕๓) พบว่าเยาวชนมีแนวโน้มการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้นจาก ๒๓.๔ ต่อแสนประชากรเป็น ๓๔.๘ ต่อแสนประชากร นอกจากนี้ผลการศึกษาของศูนย์ข้อมูลทางระบาดวิทยา สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค (๒๕๕๓) ยังพบว่าอัตราการติดเชื้อ เอช ไอ วี รายใหม่ของประเทศไทยเริ่มต้นและพบมากที่สุดในกลุ่มเยาวชน โดยกลุ่มอายุต่ำสุดที่ติดเชื้ออยู่ระหว่าง ๑๐ – ๑๔ ปี ร้อยละ ๑๑.๑ ของผู้ป่วยเอดส์ ร้อยละ ๓๑.๗ ของผู้ป่วยกามโรค และร้อยละ๓๐ ของผู้หญิงที่ทำแท้ง อยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี โดยผู้ติดเชื้อกว่าร้อยละ ๘๐ ในประเทศไทยได้รับเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกัน รวมทั้งปัจจุบันพบว่าในกลุ่มอายุดังกล่าวมักมีปัญหา เรื่องการเสพยาเสพติดร่วมด้วย ดังนั้น เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการ เยาวชนหาดใหญ่ ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติดขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น
- เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม
- เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต
- เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง
- การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา
- เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ
- กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องเอดส์ เพศศึกษา และอนามัยการเจริญพันธุ์อย่างรอบด้าน และมีทักษะในการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อ HIV ใช้ชีวิตที่ปลอดภัยและรับผิดชอบรวมทั้งไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งการเสพและการค้า
- กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ และทักษะในการถ่ายทอดความรู้และประชาสัมพันธ์ เรื่องเอดส์ เพศศึกษา อนามัยการเจริญพันธุ์ และเรื่องยาเสพติดในกลุ่มเยาวชนในโรงเรียนที่สังกัด และในชุมชนของตนเองได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ |
||
วันที่ 31 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
100 | 0 |
2. กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต |
||
วันที่ 19 สิงหาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1. ประชุมตัวแทนผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแจ้งรายละเอียดและเตรียมความพร้อม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีความตระหนัก และมีทักษะในการป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ มีความเข้าใจ และมีเจตคติที่ถูกต้องเรื่องเพศ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องการป้องกันการเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เรื่องโทษของยาเสพติด 2. กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ มีทักษะในการป้องกันตนเองจากการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดทุกชนิด |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคเอดส์ |
0.00 |
|
||
6 | การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้ ความเข้าใจ ยอมรับ และ อยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างเหมาะสม บนพื้นฐานความรู้ที่ถูกต้อง และสามารถ นำความรู้ที่ได้รับสร้าง การยอมรับผู้ป่วยเอดส์ในชุมชนของตนเองได้ |
0.00 |
|
||
7 | เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการร้อยละ ๙๐ สามารถบริหารจัดการเวลาว่างของตนเองให้เกิดประโยชน์โดยเลือกทำกิจกรรมตามความชอบได้อย่างเหมาะสม |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักเกี่ยวกับคุณค่าและความสำคัญของพฤติกรรมที่ดีงามแบบไทย การรักนวลสงวนตัว การรู้จักยับยั้งชั่งใจในเรื่องเพศ การมีทัศนคติและการมีพฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในเรื่องเพศให้กับวัยรุ่นชายและหญิง (2) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องในเรื่องเพศโดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีลักษณะนิสัยที่ดี สร้างความตระหนักและองค์ความรู้เรื่องบทบาทและคุณค่าของความเป็นชาย/หญิง ในสังคม พัฒนาการทางเพศ การจัดการอารมณ์ สัมพันธ์ทางเพศ พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของวัยรุ่น การเสริมสร้างสุขภาพวัยรุ่น (3) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง รัก หวงแหน และเห็นคุณค่าของการรักษาพรหมจรรย์ไว้จนถึงวันแต่งงาน และเข้าใจถึงผลเสียของการมีเพศสัมพันธ์ก่อนแต่งงาน ทั้งในด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และศีลธรรม (4) เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกให้วัยรุ่นทั้งชายและหญิง ลด ละ เลิก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การใช้สารเสพติดต่าง ๆ โดยให้เข้าใจถึงผลเสียของการเสพสิ่งเหล่านั้น และมีทักษะในการปฏิเสธต่อพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการดำรงชีวิต (5) เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เรื่องโรคเอดส์ที่ถูกต้อง (6) การสร้างการยอมรับ และอยู่ร่วมกับผู้ป่วยเอดส์ได้อย่างถูกต้อง และลดการตีตรา (7) เสริมสร้างความรักความสามัคคี และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมผู้เกี่ยวข้องในการชี้แจงการดำเนินกิจกรรมโครงการ (2) กิจกรรมการฝึกอบรมค่ายทักษะชีวิต
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เยาวชนหาดใหญ่ใส่ใจอนามัยการเจริญพันธุ์ พัฒนาทักษะป้องกันเอดส์และยาเสพติด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L7258-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจุลจิรา ธีรชิตกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......