กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางอาบทิพย์ ตันติมา




ชื่อโครงการ รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก



บทคัดย่อ

โครงการ " รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L7258-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 156,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาการปวดคอ ไหล่ หลัง เรื้อรัง อันเนื่องมาจากการทำงานและการใช้ชีวิตประจำวัน เรียกสั้นๆ ว่า ออฟฟิศซินโดรมเป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นกับคนที่ทำงานในออฟฟิศ ซึ่งมีลักษณะงานที่ต้องนั่งหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรือทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยท่าทางซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานานมากกว่า ๖ ชั่วโมงต่อวัน หรือท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม เช่น การนั่งหลังค่อม ท่าก้มหรือเงยคอมากเกินไป ส่งผลให้เกิดโรคและอาการผิดปกติในระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ อาทิ ปวดเมื่อย อ่อนล้า เพลีย ตึง ยึด ปวดขึ้นไปที่ขมับ กล้ามเนื้ออักเสบ พังผืดสั่งสมบริเวณกล้ามเนื้อ รวมไปถึงอาการปวดกล้ามเนื้อต้นคอ ร้าวขึ้นไปบริเวณขมับ ปวดไปที่กระบอกตา ระบบการย่อยอาหารและการดูดซึม ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบฮอร์โมน นัยน์ตาและการมองเห็น กระดูกต้นคอเสื่อม กระดูกหลังเสื่อม
จากผลการสำรวจคนทำงานในสำนักงานของประเทศไทย พบว่า คนทำงานร้อยละ ๖๐ เจ็บป่วยด้วยโรคออฟฟิศซินโดรม เนื่องจากการนั่งทำงานเอกสาร การขับรถ การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้สมาร์ทโฟนในอิริยาบถที่ไม่เหมาะสมเป็นเวลานาน และความเครียดสะสมจากการทำงาน
ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ เห็นความสำคัญของการป้องกันการเกิดโรคออฟฟิศซินโดรม โดยใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกัน การออกกำลังกายโดยฤาษีดัดตน การนวดไทย และการใช้ลูกประคบสมุนไพร เพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังออฟฟิศซินโดรม ต้องการให้ประชาชนเกิดความตระหนักถึงปัญหาสุขภาพของตนเอง รู้เท่าทันและสามารถป้องกันตนเองจากโรคออฟฟิศซินโดรมในระยะยาวได้ ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม จึงได้จัดทำโครงการรู้ทัน ป้องกัน Office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองกับออฟฟิศซินโดรม
  2. ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดแผนไทยเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้
  3. ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 2. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยติดป้ายประชาสัมพันธ์ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ และเว็บไซต์ของศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข และเว็บไซต์ของเทศบาลนครหาดใหญ่
  2. ๔.บรรยายและแบ่งกลุ่มปฏิบัติ โดยมี ๕ รุ่น รุ่นละ ๔๐ คน
  3. ๕. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ
  4. 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมเบื้องต้นได้ ๒. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ส่งผลให้เกิดออฟฟิศซินโดรม การทำลูกประคบใช้เองเพื่อป้องกันการเจ็บป่วยด้วยออฟฟิศซินโดรม ๓. ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดูแลตัวเองหรือให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพและป้องกันโรคออฟฟิศซินโดรมแก่บุคคลใกล้ชิดได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยติดป้ายประชาสัมพันธ์ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ และเว็บไซต์ของศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข และเว็บไซต์ของเทศบาลนครหาดใหญ่

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

เพื่อให้ประชาชนทราบเกี่ยวกับการดำเนินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เพื่อให้เกิดโครงการ

 

0 0

2. ๔.บรรยายและแบ่งกลุ่มปฏิบัติ โดยมี ๕ รุ่น รุ่นละ ๔๐ คน

วันที่ 3 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

บรรยายให้ความรู้เรื่อง
-ออฟฟิศซินโดรม -ให้ความรู้เรื่องสมุนไพรใช้ทำลูกประคบ -โครงสร้างกายดีด้วยวิถีหมอพื้นบ้าน สาธิตและฝึกปฏิบัติ -การนวดไทย ป้องกันออฟฟิศซินโดรม -ฤาษีดัดตน ดูแลตน ป้องกันออฟฟิศซินโดรม รุ่นที่ 1 วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2561 รุ่นที่ 2 วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม 2561 รุ่นที่ 3 วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม 2561 รุ่นที่ 4 วันอังคารที่ 31 กรกฎาคม 2561 รุ่นที่ 5 วันอังคารที่  7  สิงหาคม 2561

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปดูแลตนเองและผู้อื่น

 

200 0

3. 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

วันที่ 4 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

ติดต่อหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ทราบรายละเอียดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สามารถดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมายได้

 

0 0

4. ๕. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ

วันที่ 4 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-ประเมินผลการทำครงการด้วยแบบสอบถามหลังเข้าร่วมโครงการ -สรุปผลโครงการเพื่อให้ทราบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เข้าใจและสามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองกับออฟฟิศซินโดรม
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองกับออฟฟิศ ซินโดรมเพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดแผนไทยเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดแผนไทยเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้ร้อยละ ๘๐
0.00

 

3 ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้ร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 200
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพของตนเองกับออฟฟิศซินโดรม (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถนวดแผนไทยเบื้องต้นเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้ (3) ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรเพื่อใช้ในการป้องกันอาการเรื้อรังของออฟฟิศซินโดรมได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 2. ประชาสัมพันธ์โครงการโดยติดป้ายประชาสัมพันธ์ในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประชาสัมพันธ์ทางสื่อวิทยุ และเว็บไซต์ของศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข และเว็บไซต์ของเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) ๔.บรรยายและแบ่งกลุ่มปฏิบัติ  โดยมี  ๕  รุ่น  รุ่นละ  ๔๐  คน (3) ๕. ติดตามประเมินผลและสรุปโครงการ (4) 1.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รู้ทัน ป้องกัน office Syndrome ด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 61-L7258-1-16

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาบทิพย์ ตันติมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด