โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย
กันยายน 2561
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5259-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,990.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดให้หน่วยบริการ จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้สามารถดำเนินการคลอบคลุมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขฯ พ.ศ.2547 เอกสารแนบท้ายลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 ทุกรายการ
สภาพปัญหาทางสุขภาพในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง สังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น แบบแผนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตเปลี่ยนจากโรคติดต่อมาเป็นโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นต้น พบมากในวัยผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการถดถอยของสมรรถภาพการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม องค์การอนามัยโรค พบว่า ทั่วโลกมีผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเกือบพันล้านคน คาดการณ์ว่าในปี 2568 ประชากรวัยวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกจะป่วยด้วยโลกความดันโลหิตสูง 1.56 พันล้านคน สถิติเบาหวานทั่วโลก ข้อมูลจากสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย พบว่าปี 2558 เบาหวาน 415 ล้านคน ทำนายว่าปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวาน 642 ล้านคน จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บาโหย ในปี 2561 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (ไม่รวมผู้ป่วย) จำนวน 1,517 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,440 คน ร้อยละ 94.92) ปกติ 928 คน ร้อยละ 64.4 เสี่ยง 282 คน ร้อยละ 19.58 สงสัยป่วย 225 คน ร้อยละ 15.63 และประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป(ไม่รวมผู้ป่วย) จำนวน 1,721 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 1,638 คน ร้อยละ 95.18 ปกติ 1,478 คน ร้อยละ 90.23 เสี่ยง 135 คน ร้อยละ 2.24 สงสัยป่วย 25 คน ร้อยละ 1.53 และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 314 คน โรคเบาหวาน 78 คน การตรวจโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน โดยการวัดความดันโลหิตและการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เป็นกิจกรรมเบื้องต้นที่จะช่วยไม่ให้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้ หากประชากรในหมู่บ้านให้ความสำคัญและมาตรวจคัดกรองเป็นบทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งผ่านการอบรมและฝึกปฏิบัติในการวัดความดันโลหิตและการเจาะหาน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว แต่ยังขาดวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ดังนั้น คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบาโหย จึงจัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
- เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
77
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
- สามารถประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
วันที่ 1 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ
1.มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน
2.ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน
3.มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
- สามารถประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
1,624
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90
90.00
2
เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งตัวเพื่อปรับเปลี่ยน หรือเข้ารับการรักษา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
77
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
77
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน (2) เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 ”
ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง
กันยายน 2561
ที่อยู่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 มกราคม 2561 ถึง 28 กันยายน 2561
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาโหย อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 61-L5259-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 มกราคม 2561 - 28 กันยายน 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,990.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บาโหย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนดให้หน่วยบริการ จัดบริการตามชุดสิทธิประโยชน์การสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องประเภทและขอบเขตบริการสาธารณสุข (ฉบับที่ 10) พ.ศ. 2559 โดยกำหนดให้สามารถดำเนินการคลอบคลุมตามประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ เรื่องการจัดบริการสาธารณสุขฯ พ.ศ.2547 เอกสารแนบท้ายลงวันที่ 25 มีนาคม 2557 ทุกรายการ สภาพปัญหาทางสุขภาพในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง สังคมไทยก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ ประชากรสูงอายุเพิ่มมากขึ้น แบบแผนการเจ็บป่วยและเสียชีวิตเปลี่ยนจากโรคติดต่อมาเป็นโรคไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง เป็นต้น พบมากในวัยผู้สูงอายุ ซึ่งเกิดจากการถดถอยของสมรรถภาพการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกายและมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม องค์การอนามัยโรค พบว่า ทั่วโลกมีผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเกือบพันล้านคน คาดการณ์ว่าในปี 2568 ประชากรวัยวัยผู้ใหญ่ทั่วโลกจะป่วยด้วยโลกความดันโลหิตสูง 1.56 พันล้านคน สถิติเบาหวานทั่วโลก ข้อมูลจากสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย พบว่าปี 2558 เบาหวาน 415 ล้านคน ทำนายว่าปี 2588 จะมีผู้ป่วยเบาหวาน 642 ล้านคน จากข้อมูลของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บาโหย ในปี 2561 ประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป (ไม่รวมผู้ป่วย) จำนวน 1,517 คน ได้รับการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,440 คน ร้อยละ 94.92) ปกติ 928 คน ร้อยละ 64.4 เสี่ยง 282 คน ร้อยละ 19.58 สงสัยป่วย 225 คน ร้อยละ 15.63 และประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไป(ไม่รวมผู้ป่วย) จำนวน 1,721 คน ได้รับการคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 1,638 คน ร้อยละ 95.18 ปกติ 1,478 คน ร้อยละ 90.23 เสี่ยง 135 คน ร้อยละ 2.24 สงสัยป่วย 25 คน ร้อยละ 1.53 และมีผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 314 คน โรคเบาหวาน 78 คน การตรวจโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน โดยการวัดความดันโลหิตและการเจาะหาระดับน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เป็นกิจกรรมเบื้องต้นที่จะช่วยไม่ให้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานได้ หากประชากรในหมู่บ้านให้ความสำคัญและมาตรวจคัดกรองเป็นบทบาทหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านซึ่งผ่านการอบรมและฝึกปฏิบัติในการวัดความดันโลหิตและการเจาะหาน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว แต่ยังขาดวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ดังนั้น คณะกรรมการชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลบาโหย จึงจัดทำโครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ประจำปี 2561 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
- เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 77 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน
- สามารถประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน |
||
วันที่ 1 กรกฎาคม 2561กิจกรรมที่ทำ1.มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
1,624 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 90 |
90.00 |
|
||
2 | เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งตัวเพื่อปรับเปลี่ยน หรือเข้ารับการรักษา ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 77 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 77 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองสุขภาพตามมาตรฐาน (2) เพื่อประมวลผลพัฒนา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และส่งต่อในรายที่จำเป็น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มีการประชาสัมพันธ์ให้มีการคัดกรองเบาหวานความดันในแต่ละหมู่บ้าน ดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,624 คน และคัดกรองความดันโลหิตสูงในแต่ละหมู่บ้าน จำนวน 1,421 คน มีการดำเนินการปรับปรุงจุดตรวจคัดกรองเบาหวานความดัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจป้องกันภัยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2561 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 61-L5259-1-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสูไรยา เจ๊ะเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......