กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา ”
ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
โรงเรียนวัดปะโอ




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา

ที่อยู่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L52680203 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2559 ถึง 31 มีนาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L52680203 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2559 - 31 มีนาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,025.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองม่วงงาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนทุกกลุ่มอายุมีแนวโน้มประสบปัญหาสุขภาพข่องปากสูงขึ้น จากการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพของประชาชนของตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา พบว่า เด็กอายุ 3-5 ปี มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 71.46 จะเห็นว่าแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของโรคจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และยังพบว่าเด็กอายุ 12 ปี มีอัตราฟันผุถาวร และมีค่าเฉลี่ยฟันผุ ถอน อุด ในฟันถาวรเท่ากับ 2.93 ซี่ต่อคน และบริเวณที่พบมากที่สุดคือที่ฟันกรามล่างซี่ที่ 1 ซึ่งเป็นฟันถาวรที่เริ่มขึ้นในช่องปาก และยังมีพฤติกรรมการดูแลช่องปากที่ไม่ถูกต้อง จึงต้องอาศัยความร่วมมือจาก พ่อแม่ ผู้ปกครอง ซึ่งต้องมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลทันตสุขภาพของตัวเองและครูประจำชั้นในระดับประถมศึกษาและจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสมอีกด้วย โรงเรียนวัดปะโอ ตำบลม่วงงาม อำเภอสิงหนคร จึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา โรงเรียนวัดปะโอ เพื่อลดการเกิดโรคฟันผุ โรคเหงือกอักเสบและช่วยให้ผู้ปกครอง ครูในโรงเรียนประถมศึกษา ได้มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันเองหลังอาหารทุกวันที่โรงเรียน
  2. นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและบำบัดรักษาทางทันตกรรมได้ทันท่วงที
  3. นักเรียนมีทันตสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง
  4. นักเรียนสามารถตรวจฟันได้ด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 227
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนได้รับความรู้และมีพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพ 2.อัตราการเกิดโรคฟันผุในเด็กนักเรียนประถมศึกษาลดลง
    2. ได้รับความร่วมมือและประสานงานร่วมกันระหว่างผู้ปกครอง โรงเรียน และทันตบุคลากร ในการดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลการดำเนินงาน -นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอบรมทันตสุขภาพเชิงปฏิบัติทุกคนจำนวน 227 คน -จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ จำนวน 227 คน ได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก การรักษาและแก้ปัญหา โดยแบ่งฐานให้ความรู้แก่นักเรียน จำนวน 3 ฐาน ดังนี้ 1.ฐานที่ 1 ฐานการแปรงฟัน 2.ฐานที่ 2 ฐานฟันผุ 3.ฐานที่ 3 ฐานอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ นักเรียนมีความสนใจในเนื้อหาการอบรม มีส่วนร่วมในการตอบคำถามต่าง ๆ และให้ความช่วยเหลือในการอบรมเป็นอย่างดี นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในภาพรวมระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 98.56 มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 227 คน ๆ ละ 25.- บาท จำนวน  1 มื้อ เป็นเงิน 5,675.-  บาท 2.ค่าวัสดุและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม 2,000.-  บาท 3.ค่าชุดอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปากนักเรียนชุดละ 50.- บาท จำนวน 227 ชุด เป็นเงิน 11,350.-  บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 19,025.-  บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันเองหลังอาหารทุกวันที่โรงเรียน
    ตัวชี้วัด :

     

    2 นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและบำบัดรักษาทางทันตกรรมได้ทันท่วงที
    ตัวชี้วัด :

     

    3 นักเรียนมีทันตสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    4 นักเรียนสามารถตรวจฟันได้ด้วยตนเอง
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 227
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 227
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันเองหลังอาหารทุกวันที่โรงเรียน (2) นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและบำบัดรักษาทางทันตกรรมได้ทันท่วงที (3) นักเรียนมีทันตสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง (4) นักเรียนสามารถตรวจฟันได้ด้วยตนเอง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนประถมศึกษา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L52680203

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงเรียนวัดปะโอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด