กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลการดำเนินงาน -นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมอบรมทันตสุขภาพเชิงปฏิบัติทุกคนจำนวน 227 คน -จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอ จำนวน 227 คน ได้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก การรักษาและแก้ปัญหา โดยแบ่งฐานให้ความรู้แก่นักเรียน จำนวน 3 ฐาน ดังนี้ 1.ฐานที่ 1 ฐานการแปรงฟัน 2.ฐานที่ 2 ฐานฟันผุ 3.ฐานที่ 3 ฐานอาหารที่ทำให้เกิดฟันผุ นักเรียนมีความสนใจในเนื้อหาการอบรม มีส่วนร่วมในการตอบคำถามต่าง ๆ และให้ความช่วยเหลือในการอบรมเป็นอย่างดี นักเรียนโรงเรียนวัดปะโอที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจในภาพรวมระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 98.56 มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 100 ผลการใช้จ่ายงบประมาณ 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 227 คน ๆ ละ 25.- บาท จำนวน  1 มื้อ เป็นเงิน 5,675.-  บาท 2.ค่าวัสดุและอุปกรณ์อื่น ๆ  ที่ใช้ในการดำเนินกิจกรรม 2,000.-  บาท 3.ค่าชุดอุปกรณ์การทำความสะอาดช่องปากนักเรียนชุดละ 50.- บาท จำนวน 227 ชุด เป็นเงิน 11,350.-  บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 19,025.-  บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันเองหลังอาหารทุกวันที่โรงเรียน
ตัวชี้วัด :

 

2 นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและบำบัดรักษาทางทันตกรรมได้ทันท่วงที
ตัวชี้วัด :

 

3 นักเรียนมีทันตสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง
ตัวชี้วัด :

 

4 นักเรียนสามารถตรวจฟันได้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 227
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 227
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กระตุ้นให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันเองหลังอาหารทุกวันที่โรงเรียน (2) นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและบำบัดรักษาทางทันตกรรมได้ทันท่วงที (3) นักเรียนมีทันตสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาเหงือกและฟันของตนเอง (4) นักเรียนสามารถตรวจฟันได้ด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh