กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพในตำบลในการจัดการการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. มีทีมภาคีเครือข่าย อสม. หมู่บ้านละ 1 ทีม จำนวน 8 ทีม
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 90
0.00

 

3 ข้อที่ 3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับ ความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
ตัวชี้วัด : 3.ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
0.00

 

4 ข้อที่ ๔เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ที่มีค่าดรรชนีมวลกายเกิน รอบเอวเกิน สมัครใจเข้ารับบริการในคลินิกไร้พุงที่สถานบริการ
ตัวชี้วัด : 4.กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ที่มีค่าดรรชนีมวลกายเกิน รอบเอวเกิน สมัครใจเข้ารับบริการในคลินิกไร้พุงที่สถานบริการ ร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1  เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพในตำบลในการจัดการการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) ข้อที่ 3 ประชาชนกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วยที่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  มีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับ  ความดันโลหิต เปลี่ยนแปลงอยู่ในเกณฑ์ปกติไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 (4) ข้อที่ ๔เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย ที่มีค่าดรรชนีมวลกายเกิน  รอบเอวเกิน สมัครใจเข้ารับบริการในคลินิกไร้พุงที่สถานบริการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. การสร้างแกนนำชุมชนและการพัฒนาหลักสูตรใช้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามแบบวิถีชุมชนโดยสร้างการมีส่วนร่วมกิจกรรมจากประชาชนกลุ่มเสี่ยงและ จัดอบรมให้ความรู้ ฝึกทักษะให้กับแกนนำ ตามหลักสูตรที่กำหนด (2) 2.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มป่วย ดำเนินการเชิงรุกโดยแกนนำเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย ครั้งที่1 ครั้งที่ 2  ครั้งที่  3ห่างกันครั้งละ 1 เดือน รวมระยะเวลาเข้าร่วมกิจกรรม  ถึงการประเมินผล  ๓ เดือน (3) 3.จัดประชุมแกนนำชุมชน แกนนำกลุ่มเสี่ยง /กลุ่มป่วย จำนวน 4ครั้ง โดยสร้างการมีส่วนร่วมเป็นกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้    การถอดบทเรียน และประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และนัดบริการคลินิกไร้พุงที่ สถานบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh