กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ”
ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสุขขุม โอฬาริกบุตร




ชื่อโครงการ โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน

ที่อยู่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2561 ถึง 30 กรกฎาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพนมวังก์ อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 พฤษภาคม 2561 - 30 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พนมวังก์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุขและสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ จึงมีมาตรการเชิงรุกในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบบการเผาผลาญอาหารในร่างกายโดยมีการคัดกรองความเสี่ยงการเกิดโรคความดัน โลหิตสูงเบาหวานโดยมีเป้าหมายประชากรกลุ่มอายุ ๑5 ปีขึ้นไปทุกราย ต้องได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงโรค ด้วยการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม การวัดความดันโลหิต การชั่งน้ำหนัก วัดความสูง และการวัดเส้นรอบเอว เพื่อค้นหาพฤติกรรมเสี่ยงและค้นหาโรคในระยะเริ่มต้นกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับการตรวจยืนยันความเสี่ยงต่อโรค ในร่างกาย โดยบุคลากรสาธารณสุขเพื่อที่จะมีการดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงโดยมีเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงต้องได้รับความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมรวมทั้งกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคต้องส่งไปรับการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายอันจะส่งผลให้ลดความรุนแรงของโรคในรายที่ป่วยลง จากการดำเนินงาน ปี ๒๕60 ประชากรกลุ่มอายุ ๑๕ ปีขึ้นไปจำนวน3,756คน พบพฤติกรรมเสี่ยง จำนวน794 คนร้อยละ๒๖.๘๖มีรอบเอวเกินค่ามาตรฐาน จำนวน๙๘๓คนร้อยละ ๒๘.๕๘ พบกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตมากกว่า120/80-140/90 มิลลิเมตรปรอทจำนวน 924 คน ร้อยละ26.86พบกลุ่มเสี่ยงเบาหวานมากกว่า 100-126 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์ จำนวน 455 คน ร้อยละ 13.32และมีจำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน๖๓๙คน ร้อยละ ๑๕.๘๘ผู้ป่วยเบาหวานจำนวน๒๑๐คนร้อยละ ๕.๒๑ผู้ป่วยส่วนใหญ่ไม่สามารถควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในหลายระบบของร่างกายทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังก่อให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจของผู้ป่วยและครอบครัวทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสี่แยก ไสยวน จึงได้จัดทำโครงการรณรงค์คัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในประชากรกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไปค้นหากลุ่มเสี่ยงกลุ่มที่สงสัยจะเป็นโรคเข้าถึงการบริการดูแลการรักษาตั้งแต่เริ่มแรกทุกรายบรรลุตามตัวชี้วัดเป้าหมาย และจัดบริการในระดับปฐมภูมิเป็นไปอย่างมีคุณภาพ ตามที่กำหนดไว้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง
  2. ข้อที่ 2ให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานและโรคที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน
  3. ข้อที่ 3 ให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จัดการติดตามตามแนวทางการดูแลอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
  4. ข้อที่ 4 ให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.ตรวจคัดกรองเบาหวานด้วยการเจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความดันโลหิต กลุ่ม15-34 ปีที่ภาวะเสี่ยงจากการประเมินด้วยวาจา และกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มอายุ 15ปีขึ้นไป ได้รับคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน 2.ประชาชนได้รับทราบภาวะสุขภาพของตนเอง ภาวะเสี่ยง ในการจัดการตนเอง เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และภาวะแทรกซ้อนลดปัญหาการสูญเสียทางด้านสังคมและเศรษฐกิจที่เกิดจากการรักษาพยาบาลโดยตรงและค่าใช้จ่ายทางอ้อม 3.เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันระหว่างทีมสุขภาพ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในพื้นที่ และประชาชนกลุ่มเป้าหมาย
  2. ประชาชนลดการป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้
  3. กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันควบคุมความดัน โลหิตสูง โรคเบาหวานความดันโลหิตสูง ได้รับการติดตามดูแล เข้าถึงระบบการบริการการดูแลที่ต่อเนื่อง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95
0.00

 

2 ข้อที่ 2ให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานและโรคที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน
ตัวชี้วัด : 2. แบบประเมินความรู้ ร้อยละ 70
0.00

 

3 ข้อที่ 3 ให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จัดการติดตามตามแนวทางการดูแลอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ
ตัวชี้วัด : 3. ร้อยละ 90
0.00

 

4 ข้อที่ 4 ให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรค ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด
ตัวชี้วัด : 4.ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในพื้นที่รับผิดชอบ ได้รับคัดกรองความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน  หลอดเลือดสมองและภาวะอ้วนลงพุง    (2) ข้อที่ 2ให้ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ  ได้มีความรู้โดยให้มีบทบาทในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง เบาหวานและโรคที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อน (3) ข้อที่ 3 ให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยง โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยงปานกลาง/ เสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยงและได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรค จัดการติดตามตามแนวทางการดูแลอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ (4) ข้อที่ 4 ให้ผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรค  ได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษาตามแนวทางที่กำหนด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.ตรวจคัดกรองเบาหวานด้วยการเจาะเลือดปลายนิ้วและวัดความดันโลหิต  กลุ่ม15-34 ปีที่ภาวะเสี่ยงจากการประเมินด้วยวาจา และกลุ่ม 35 ปีขึ้นไป

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุขขุม โอฬาริกบุตร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด