กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค ”
ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางอินทิรา ทองเกื้อ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค

ที่อยู่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 พฤษภาคม 2561 ถึง 31 กรกฎาคม 2561

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 พฤษภาคม 2561 - 31 กรกฎาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าแพ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันด้วยสถานการณ์ที่เศรษฐกิจไม่คอยดีเท่าที่ควร และด้วยสภาพดินฟ้าอากาศไม่อำนวยต่อการประกอบอาชีพหลักอย่างการกรีดยางพาราของคนในต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล จึงทำให้รายได้หลักอย่างเดียวไมาสามารถเพียงพอต่อการใช้จ่ายได้ ดังนั้นจึงต้องดิ้นรนหารายได้เพิ่มจากการประกอบอาชีพเสริม เช่น ออกไปรับจ้างงานนอกบ้าน ออกไปขายของเป็นต้น เพื่อมาจุนเจือครอบครัว จึงทำให้คนในตำบลท่าแพ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ไม่ค่อยมีเวลาในการประกอบอาหารเพื่อรนับประทาน หรือทำให้ลูกหลานรับประทาน จึงต้องพึ่งอาหารจากร้านสะดวกซื้อ แผงลอย แกงถุง และขนมตามหน้าร้านต่างๆ เพราะว่าสะดวก ประหยัดทั้งเงินและเวลา โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นแก่ตนเอง และลูกหลานได้ อีกทั้งยังขาดความรู้ ความเอาใจใส่ในเรื่องของการมีพฤติกรรมทางการกินที่อาจไม่ถูกต้อง ตามโภชนาการบ้าง ก็มีวัฒนธรรมการกินที่สืบทอดซึ่งหลีกเลี่ยงไม่ได้ เช่น การทำขนมกินในเดือนรอมฎอน ประเพณีการทำบุญต่างๆ ที่มีการรับแขก โดยการกินอาหารที่หนีไม่พ้นรสชาดหวาน มัน เค็ม ที่เป็นสาเหตุที่นำไปสู่โรคต่างๆ และสามารถเกิดขึ้นทั้งผู้ใหญ่และเด็ก ทางอาสาสมัครสาธารณสุขและเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตูล มีความเชื่อว่าการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติงาน ในเรื่องของการรับประทานอาหารและการเลือกซื้อเลือกกินขนมหน้าร้านแก่เด็กๆนั้น จะสามารถทำให้เด็กๆหรือลูกหลานของชาวตำบลท่าแพสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันตนเอง และบอกต่อเพื่อนๆผู้ปกครอง ให้ปลอดภัยจากโรคภัยต่างๆ ได้จัดทำโครงการเพื่อป้องกัน ลด การเกิดโรคในเด็ก และเข้าใจเรื่องของการรับประทานอาหาร ขนมที่ถูกต้อง ในต.ท่าแพ อ.ท่าแพ จ.สตุล ได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินในเด็กและผู้ใหญ่
  2. 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการสื่อสาร การลดโรคในเด็กและผู้ใหญ่
  3. 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ต.ท่าแพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและผู้ปกครองจะได้รับความ่รู้เรื่องการบริโภคที่ปลอดภัย 2.เด็กและผู้ปกครองจะได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางการกินอาหารที่เหมาะสม 3.สามารถขยายผล/ป้องกันปัญหาการเกิดโรคในเด็กได้ 4.คณะทำงานได้ใช้ความรู้ที่มีอยู่ให้เกิดผลดีได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักโภชนาการ

วันที่ 5 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

150 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น และนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินในเด็กและผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการสื่อสาร การลดโรคในเด็กและผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ต.ท่าแพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 150 150
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินในเด็กและผู้ใหญ่ (2) 2.เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยต่อการสื่อสาร การลดโรคในเด็กและผู้ใหญ่ (3) 3.เพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม. และเครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค ต.ท่าแพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย และถูกต้องตามหลักโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมความรู้ด้านอาหาร เพื่อลูกหลานปลอดโรค จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอินทิรา ทองเกื้อ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด